คณะรัฐมนตรี คณะที่ 24

จอมพล แปลก พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี

ตั้งแต่วันที่ 6 ธันวาคม 2494 - 23 มีนาคม 2495

แถลงนโยบาย เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2494
คำปรารภ

คำแถลงนโยบายของรัฐบาล

2 ท่านประธานสภาผู้แทนราษฎร และท่านสมาชิกผู้มีเกียรติ
3 ตามประกาศตั้งนายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้ประกาศว่าทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ข้าพเจ้าเป็นนายกรัฐมนตรี บริหารราชการแผ่นดินข้าพเจ้าได้จัดตั้งรัฐบาล นำรายนามรัฐมนตรีขึ้นทูลเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชอนุมัติให้ตั้งรัฐมนตรีตามประกาศตั้งรัฐมนตรี ลงวันที่ 8 มกราคม พุทธศักราช 2494นั้นแล้ว ณ บัดนี้ข้าพเจ้าและรัฐมนตรีพร้อมแล้วที่จะเป็นรัฐบาลของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จึงขอแถลงนโยบายในการบริหารราชการแผ่นดินของรัฐบาลชุด เพื่อสภาผู้แทนราษฎรจะได้พิจารณาให้ความไว้วางใจบริหารราชการแผ่นดินตามบทบัญญัติมาตรา 50 ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2475 สืบไปดังต่อไปนี้การเมือง

1. รัฐบาลนี้มีเจตจำนงอันแน่วแน่ที่จะผดุงรักษาระบอบประชาธิปไตยตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย เทอดทูนพระมหากษัตริย์บรมราชจักรีวงศ์อันเป็นที่เคารพสักการะตลอดไปความมั่นคง การป้องกันประเทศ การทหาร

4. รัฐบาลนี้จะสร้างกำลังป้องกันราชอาณาจักร เพื่อเผชิญกับสถานการณ์โดยไม่ประมาทความสงบเรียบร้อยภายใน,การปกครอง,มหาดไทย


สิทธิ เสรีภาพประชาชน ,เอกราช

5. รัฐบาลนี้จะเคารพต่อหลักการเสรีภาพ เสมอภาค ภราดรภาพนอกจากจะดำเนินตามบทบัญญัติมาตรา 14 แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2475 แล้ว รัฐบาลนี้จะเคารพยึดถือปฏิญญาสากลของสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิ ของมนุษยชนด้วย

3. รัฐบาลนี้จะส่งเสริมไมตรีอันมั่นคงกับนานาประเทศ และปฏิบัติตามพันธกรณีระหว่างประเทศ เชิดชูอุดมคติของสหประชาชาติ และยึดมั่นอยู่ในฝ่ายเสรีประชาธิปไตย ต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์ เพื่อความยุติธรรมสันติสุขของโลกการเศรษฐกิจ,พาณิชย์

7. รัฐบาลนี้จะพยายามอย่างที่สุด ให้เศรษฐกิจของชาติมีความเจริญรุ่งเรืองโดยเร็ว เพื่อสร้างความผาสุกให้แก่ประชาราษฎรทั่วหน้า และจะบริหารราชการแผ่นดินในทางเศรษฐกิจ ดังต่อไปนี้ก) ส่งเสริมช่วยเหลือให้ราษฎรมีที่ดิน และเคหสถานบ้านเรือนเป็นกรรมสิทธิ์ของตนตามสมควรแก่อัตภาพข) ส่งเสริมช่วยเหลือการประกอบอาชีพของประชาราษฎร์ ในการผลิตพืชพันธุ์ธัญญาหาร และการเลี้ยงสัตว์ให้เป็นผลดี ดังเช่น ในเรื่องการหาทุนการชลประทาน เครื่องจักรทุ่นแรง ปุ๋ย เป็นต้น2 ฆ) ส่งเสริมช่วยเหลือให้ผู้ผลิตขายผลิตผลของตนได้ราคาที่สมควร และให้ผู้บริโภคหาซื้อสินค้าได้สะดวกในราคาพอสมควร จะวางวิธีการติดต่อระหว่างผู้ผลิตและผู้บริโภคให้ถึงกันสะดวกใกล้ชิด การสหกรณ์ การจัดสมาคมอาช และคลังสินค้าจะให้ผลดีสมปรารถนาในเรื่องเหล่านี้ ซึ่งรัฐบาลนี้จะพยายามส่งเสริมช่วยเหลือให้บังเกิดขึ้น พร้อมด้วยมีประสิทธิภาพดีด้วยการคลัง,การเงิน

8. รัฐบาลนี้เห็นชัดว่า การที่จะสร้างประโยชน์อันผาสุกให้แก่ราษฎรดังกล่าวมานี้ ค่าของเงินก็มีความสำคัญอยู่ส่วนหนึ่ง ภายหลังสงครามโลกครั้งที่สองนี้ค่าของเงินตราไทยได้ตกต่ำลงไปมาก ซึ่งก็มิใช่จะเป็นเฉพาะในประเทศไทยเท่านั้นที่จริงประเทศอื่นหลายประเทศก็ต้องประสพผลอันนี้ รัฐบาลที่แล้วมาได้ทำความพยายามให้ค่าของเงินตราไทยดีมาในชั่วเวลา 2 - 3 ปีนี้ รัฐบาลนี้จะได้ทำความพยายามต่อไปด้วยวิธีการอันรอบคอบให้เป็นผลดียิ่งขึ้นการสังคม


วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี


การพลังงาน สิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ





การปรับปรุงกฎหมาย


การกระจายรายได้ ความเจริญ สร้างความเป็นธรรมในสังคม


การยุติธรรม,ศาล,ตุลาการ

10. เพื่อรักษาไว้ซึ่งระบอบประชาธิปไตย และเพื่อปฏิบัติเคร่งครัดตามปฎิญญาสากลว่าด้วยสิทธิของมนุษยชน รัฐบาลนี้จะเคารพต่ออิสรภาพของศาลตามบทบัญญัติมาตรา 60 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2475 โดยเคร่งครัดการเกษตร


การศึกษา

2. รัฐบาลนี้จะเชิดชูทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา และให้ความช่วยเหลือแก่ศาสนาอื่น2 9. เพื่อให้ได้ผลทั้งมวลที่ได้กล่าวมานี้อย่างมีประสิทธิภาพ รัฐบาลนี้จะให้การศึกษาอันดีแก่ประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งคืออาชีวศึกษาและอบรมศีลธรรม จะได้ขยายโรงเรียน และเพิ่มครูผู้สอนให้มากยิ่งขึ้น

6. รัฐบาลนี้จะเร่งรัดส่งเสริมการรักษาพยาบาลและอนามัย ของประชาชนรวมทั้งการช่วยเหลือประชาชนทางสวัสดิการให้ทวียิ่งขึ้นการแรงงาน


งานเร่งด่วน


การฟื้นฟูบูรณะกรุงเทพมหานคร


คำลงท้าย

11. รัฐบาลนี้มีความตั้งใจอันแน่วแน่ที่จะปฏิบัติงานของชาติ ให้สำเร็จตามนโยบายที่แถลงมานี้ แต่การที่จะประสพผลสำเร็จเช่นนั้น ก็จะต้องอาศัยความร่วมมือร่วมใจของท่านสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ข้าราชการ ตลอดถึงประชาชน ที่จะช่วยกันนำชาติผ่านพ้นสถานการณ์อันตึงเครียดของโลกในเวลานี้ และสร้างความถาวรสวัสดีอันผาสุกให้แก่ประเทศชาติทั่วกันด้วย หวังว่าท่านสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคงจะได้พิจารณานโยบายของรัฐบาลนี้ด้วยไมตรีจิต และให้ความไว้วางใจแก่รัฐบาลชุดนี้ด้วยดี แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2475 สืบไป

6 ธันวาคม 2494 ถึง 23 มีนาคม 2495
รายชื่อคณะรัฐมนตรี

คณะรัฐมนตรี คณะที่ 24


ตั้งแต่
2 โดยที่ได้มีคณะรัฐมนตรีชั่วคราวขึ้น และนายกรัฐมนตรีชั่วคราว ได้แจ้งไปยังประธานสภาฯ ขอให้ดำเนินการจัดตั้งนายกรัฐมนตรี (ประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับลงวันที่ 10 ธันวาคม 2475 พร้อมทั้งรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติม ว่าด้วยนามประเทศ พ.ศ. 2482 และรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมว่าด้วยบทเฉพาะกาล พ.ศ.2483 ตั้งแต่วันที่ 29 พฤศจิกายน 2494 ไปพลางก่อน) ครั้นในวันที่ 6 ธันวาคม 2494 จึงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ตั้ง จอมพล แปลก พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรีและวันที่ 8 ธันวาคม 2494 มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ตั้งรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรีคณะนี้มีรายนามดังต่อไปนี้

2. พลเอก ผิน ชุณหะวัณ เป็นรองนายกรัฐมนตรี
3. จอมพล แปลก พิบูลสงคราม เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม
4. พลตรี เภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
5. นายวรการบัญชา เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
6. พลเรือตรี หลวงยุทธศาสตร์โกศล เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตราธิการ
7. พระยาบริรักษ์เวชชการ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข
8. นายสุกิจ นิมมานเหมินท์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
9. พลอากาศเอก ฟื้น รณนภากาศ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมฤทธาคนี10. หลวงวิจิตรวาทการ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์11. พลตรี บัญญัติ เทพหัสดิน ณ อยุธยา เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย12. พระยานิติธารณ์พิเศษ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม13. พลเอก มังกร พรหมโยธี เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
15. พลเรือตรี หลวงสุนาวินวิวัฒ เป็นรัฐมนตรี16. พันตำรวจเอก ละม้าย อุทยานานนท์ เป็นรัฐมนตรี17. นายเลื่อน พงษ์โสภณ เป็นรัฐมนตรี18. พันเอก ประมาณ อดิเรกสาร เป็นรัฐมนตรี19. พลเรือตรี หลวงชำนาญอรรถยุทธ์ เป็นรัฐมนตรี20. นายพลตำรวจโท เผ่า ศรียานนท์ เป็นรัฐมนตรี21. พลอากาศโท หลวงเชิดวุฒากาศ เป็นรัฐมนตรี22. พลโท เดช เดชประดิยุทธ์ เป็นรัฐมนตรี23. พลอากาศตรี มุนี มหาสันทนะ เป็นรัฐมนตรีเวชยันตรังสฤษดิ์24. นายเขมชาติ บุณยรัตพันธุ์ เป็นรัฐมนตรี25. พันเอก ศิริ สิริโยธิน เป็นรัฐมนตรี26. พลตรี ประยูร ภมรมนตรี เป็นรัฐมนตรี4 วันที่ 11 ธันวาคม 2494 มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง ดังต่อไปนี้
1. พลเรือตรี หลวงสุนาวินวิวัฒ และ พลโท สฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม
2. พลตรี ประยูร ภมรมนตรี เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง
3. พันตำรวจเอก ละม้าย อุทยานานนท์ เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตราธิการ
4. นายเลื่อน พงษ์โสภณ เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม5 6. พันเอก ศิริ สิริโยธิน เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์

7. นายพลตำรวจโท เผ่า ศรียานนท์ และ พลโท เดช เดชประดิยุทธ์เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย
8. พลอากาศโท หลวงเชิดวุฒากาศ เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ6 วันที่ 15 ธันวาคม 2494 มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งพลอากาศตรี มุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษดิ์ เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการสำนักนายกรัฐมนตรีประกาศราชกิจจา

(ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 68 ตอน 79 หน้า 5871)
การอุตสาหกรรม

ค) ส่งเสริมช่วยเหลือการอุตสาหกรรมที่ทำด้วยวัตถุดิบในประเทศ ให้กว้างขวางยิ่งขึ้น ตลอดจนการอุตสาหกรรมในครอบครัวด้วยการคมนาคม ขนส่ง,สื่อสาร

ง) ส่งเสริมความสะดวกในการขนส่ง การสื่อสาร และการสัญจรไปมาให้ดียิ่งขึ้น