คณะรัฐมนตรี คณะที่ 11

นายควง อภัยวงศ์ เป็นนายกรัฐมนตรี

ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2487 - 31 สิงหาคม 2488

แถลงนโยบาย เมื่อวันที่ 3 สิงหาคม 2487
คำปรารภ

นโยบายของรัถบาลที่แถลงต่อสภาผู้แทนราสดร
4~2 ท่านประธานสภาผู้แทนราสดรและสมาชิกทั้งหลาย
3 เนื่องจากได้ซงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ข้าพเจ้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีตามประกาสตั้งนายกรัฐมนตรีลงวันที่1สิงหาคม พุทธสักราช 2487 นั้น บัดนี้ ข้าพเจ้าได้จัดตั้งคณะรัฐมนตรีเส็ดแล้วตามประกาศตั้งและแต่งตั้งรัฐมนตรี ลงวันที่ 2 สิงหาคมพุทธสักราช 2487ไนระหว่างภาวะสงครามเช่นนี้ การที่จะเข้าบริหารราชการแผ่นดินย่อมมีภาระที่หนักหยู่มาก ยิ่งประเทศหยู่ในสถานะการณ์ที่คับขันที่สุดหย่าง ความยากลำบากไห้แก่รัถบาลเปนอเนกประการ แต่รัถบาลนี้ขอปติญานว่า จะต่อสู้ต่ออุปสัคทั้งปวงเพื่อสนองคุนชาติบ้านเมืองจนสุดความสามาถ ฉะนั้นเพื่อไห้โอกาสรัถบาลนี้เข้าบริหารงานได้โดยด่วน อีกทั้งเพื่อไห้เหมาะสมกับสถานะการน์ของบ้านเมืองปัจจุบัน รัถบาลนี้จึงขอแถลงนโยบายแต่เพียงสั้น ๆ ไว้ต่อสภาผู้แทนราสดร ดังต่อไปนี้การเมือง


ความมั่นคง การป้องกันประเทศ การทหาร


ความสงบเรียบร้อยภายใน,การปกครอง,มหาดไทย


สิทธิ เสรีภาพประชาชน ,เอกราช


การต่างประเทศ

6. ไนส่วนนโยบายการต่างประเทศนั้น รัถบาลนี้จะได้ร่วมมือกับยี่ปุ่นโดยไกล้ชิดตามสัญญาพันธกรนีที่ได้มีต่อกันไว้ด้วยดี ส่วนกับนานาประเทศอื่น รัถบาลนี้ก็จะพยายามส่งเสิมความสัมพันธไมตรีตามสนธิสัญญาซึ่งมีหยู่ต่อกันและกันด้วยดี


การคลัง,การเงิน

5.รัถบาลนี้จะพยายามรักสาความมั่นคงแห่งเงินตราและจะไช้จ่ายโดยทางประหยัดการสังคม


วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี


การพลังงาน สิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ


การบริหารราชการ

1. รัถบาลนี้เปนรัถบาลของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวไนระบอบประชาธิปไตยอันมีรัถธัมนูญเปนหลักปติบัติ
2. รัถบาลนี้จะยึดหลัก 6 ประการของคณะราสดร เปนหลักบริหารราชการแผ่นดิน อาทิ เช่น หลักเอกราช หลักรักสาความสงบ หลักเอกราชไนทางเสถกิจ หลักเสรีภาพและหลักการสึกสา3.รัถบาลนี้จะบริหารงานด้วยความเข้มแข็งและซื่อสัจสุจริตต่อพระมหากสัตร มากหรือที่สภานี้ร้องขอแล้ว รัถบาลนี้จะได้พยายามช่วยเหลือแก้ไขไห้เต็มความสามาถ และถ้าสิ่งไดที่เปนความต้องการหรือที่เปนความสุขของประชาชนแล้ว ก็จะรีบส่งเสิมจัดทำขึ้นเท่าที่สามาถจะทำได้4.รัถบาลนี้จะบริหารงานและดำเนินการปกครอง ไปไนทางเห็นอกเห็นไจประชาชนเปนที่ตั้งการปรับปรุงกฎหมาย


การกระจายรายได้ ความเจริญ สร้างความเป็นธรรมในสังคม


การยุติธรรม,ศาล,ตุลาการ


การเกษตร


การศึกษา


การสาธารณสุข





งานเร่งด่วน


การฟื้นฟูบูรณะกรุงเทพมหานคร


คำลงท้าย

จึงขอเสนอสภาผู้แทนราสดรเพื่อไห้ความไว้วางใจแก่รัถบาลคนะนี้ตามบทบัญญัติแห่งรัถธัมนูญ มาตรา 50 เพื่อจะได้เข้าบริหารงานต่อไป2 (ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 61 หน้า 1519 พ.ศ. 2487)

วันที่1สิงหาคม2487ถึงวันที่31สิงหาคม2488

รายชื่อคณะรัฐมนตรี

คณะรัฐมนตรี คณะที่ 11


ตั้งแต่
2 โดยที่ จอมพล แปลก พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรี ได้กราบถวายบังคมลาออกจากตำแหน่ง (สภาผู้แทนราษฎรลงมติไม่รับหลักการ แห่งร่างพระราชบัญญัติอนุมัติพระราชกำหนดจัดตั้งนครบาลเพ็ชรบูรณ์และพุทธบุรีมณฑล) จึงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ลงวันที่ 1 สิงหาคม 2487 ตั้ง นายพันตรีควง อภั เป็นนายกรัฐมนตรี วันที่ 2 สิงหาคม 2487 มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ตั้งรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีคณะนี้มีรายนาม ดังต่อไปนี้
1. พันตรี ควง อภัยวงศ์ เป็นนายกรัฐมนตรี
2. พลเรือโท สินธุ์ กมลนาวิน เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม
3. พันตรี ควง อภัยวงศ์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง4.นายเล้ง ศรีสมวงศ์ เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง5.นายศรีเสนา สมบัติศิริ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ6.นายจิตร ศรีธรรมาธิเบศ ณ สงขลา เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข7.พลเรือตรี ผัน นาวาวิจิตร เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม8.หม่อมหลวงอุดม สนิทวงศ์ เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
9. พลเรือโท สินธุ์ กมลนาวิน เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตราธิการ10. พันตรี ควง อภัยวงศ์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม11. นายสพรั่ง เทพหัสดิน ณ อยุธยา เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม12. นาวาเอก บุง ศุภชลาศัย เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย13. หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์14. นายจิตร ศรีธรรมาธิเบศ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมณ สงขลา15. นายทวี บุณยเกตุ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ร17. นายศรีธรรมราช กาญจนโชติ เป็นรัฐมนตรี18. พลตรี พิน อมรวิสัยสรเดช เป็นรัฐมนตรี19. นาวาเอก ทหาร ขำหิรัญ เป็นรัฐมนตรี20. นาวาเอก ชลิต กุลกำธรม์ เป็นรัฐมนตรี3 21. พลโท ชิต มั่นศิลป์ สินาดโยธารักษ์ เป็นรัฐมนตรี22. นายโป-ระ สมาหาร เป็นรัฐมนตรี23. พันเอก พจน์ พหลโยธิน เป็นรัฐมนตรี4 วันที่ 24 สิงหาคม 2487 มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ตั้ง พลโท ชิตมั่นศิลป์ สินาดโยธารักษ์ เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมวันที่ 5 กันยายน 2487 มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ตั้ง
1. นายโป-ระ สมาหาร เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย
2. นายประจวบ บุนนาค เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการสาธารณสุข
3. พลตรี เรือง เรืองวีระยุทธ เป็นรัฐมนตรี
4. นายทองอินทร์ ภูริพัฒน์ เป็นรัฐมนตรี
5. พลอากาศตรี กาพย์ เทวฤทธิ์พันลึก ทัตตานนท์ เป็นรัฐมนตรีวันที่ 14 พฤศจิกายน 2487 มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ตั้ง พลโทจิระ วิชิตสงคราม เป็นรัฐมนตรี5 วันที่ 20 ธันวาคม 2487 หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ลาออกจากตำแหน่ง6 วันที่ 1 มกราคม 2488 นายศรีธรรมราช กาญจนโชติ รัฐมนตรี ลาออก
วันที่ 6 มกราคม 2488 มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ตั้ง พลโท จิระวิชิตสงคราม เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม7 วันที่ 10 มกราคม 2488 มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ตั้งรัฐมนตรีดังต่อไปนี้
1. พันตรี ควง อภัยวงศ์ พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังและตั้งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ อีกตำแหน่งหนึ่ง
2. นายเล้ง ศรีสมวงศ์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
3. นายเดือน บุนนาค พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการและแต่งตั้งให้เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์8 วันที่ 19 มีนาคม 2488 มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ หม่อมหลวงอุดม สนิทวงศ์ พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และแต่งตั้งให้เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง9 วันที่ 2 พฤษภาคม 2488 มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯให้เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขและแต่งตั้งให้นาวาเอกหลวงศุภชลาศัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขอีกตำแหน่งหนึ่ง
การอุตสาหกรรม