คณะรัฐมนตรี คณะที่ 7

พระยาพหลพลพยุหเสนา เป็นนายกรัฐมนตรี

ตั้งแต่วันที่ 9 สิงหาคม 2480 - 20 ธันวาคม 2480

แถลงนโยบาย เมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 2480
คำปรารภ

คำแถลงนโยบาย

2 คณะรัฐมนตรีนี้จะดำเนินนโยบายตามที่คณะรัฐมนตรีชุดก่อนได้แถลงไว้

ต่อสภาผู้แทนราษฎรแล้ว ส่วนเรื่องการซื้อขายที่ดินบางรายของพระคลังข้างที่ซึ่งเป็นปัญหาอยู่นั้นรัฐบาลจะได้ตั้งคณะกรรมการสอบสวนให้ขาวสอาด3 (รายงานการประชุมฯ สมัยที่ 2 ครั้งที่ 22/2480 หน้า 501 สมัยวิสามัญ)
การเมือง


ความมั่นคง การป้องกันประเทศ การทหาร


ความสงบเรียบร้อยภายใน,การปกครอง,มหาดไทย





การต่างประเทศ


การเศรษฐกิจ,พาณิชย์


การคลัง,การเงิน


การสังคม


วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี


การพลังงาน สิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ


การบริหารราชการ


การปรับปรุงกฎหมาย


การกระจายรายได้ ความเจริญ สร้างความเป็นธรรมในสังคม


การยุติธรรม,ศาล,ตุลาการ





การศึกษา


การสาธารณสุข


การแรงงาน


งานเร่งด่วน


การฟื้นฟูบูรณะกรุงเทพมหานคร


รายชื่อคณะรัฐมนตรี

คณะรัฐมนตรี คณะที่ 7


ตั้งแต่
2 วันที่ 9 สิงหาคม 2480 ถึง 21 ธันวาคม 2480


3 โดยที่นายพันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา นายกรัฐมนตรี ได้กราบถวายบังคมลาออกจากตำแหน่ง (เกี่ยวกับเรื่องที่นายเลียง ไชยการ ส.ส. อุบลราชธานีกระทู้ถาม การซื้อขายที่ดินซึ่งเป็นทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์) ในวันที่ 9 สิงหาคม 2480 นาเป็นนายกรัฐมนตรี และในวันที่ 10 สิงหาคม 2480 ได้พระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯตั้งรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรีคณะนี้มีรายนาม ดังต่อไปนี้
1. นายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา เป็นนายกรัฐมนตรี
2. นายพันเอก หลวงพิบูลสงคราม เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม
3. พระยาไชยยศสมบัติ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
4. ขุนสมาหารหิตะคดี เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง
5. หลวงประดิษฐ์มนูธรรม เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
6. นายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตราธิการ

7. นายนาวาเอก หลวงสินธุสงครามชัย เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงธรรมการ
8. นายนาวาตรี หลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
9. เจ้าพระยามหิธร เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม10. นายพันเอก พระบริภัณฑ์ยุทธกิจ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐการ11. นายพันเอก หลวงชำนาญยุทธศิลป์ เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเศรษฐการ12. หลวงนาถนิติธาดา เป็นรัฐมนตรี 14. หลวงวิจิตรวาทการ เป็นรัฐมนตรี15. นายนาวาอากาศเอก พระเวชยันตรังสฤษฏ์ เป็นรัฐมนตรี16. พระยาศรีเสนา เป็นรัฐมนตรี17. พระยาสมันตรัฐบุรินทร์ เป็นรัฐมนตรี4 18. นายนาวาโท หลวงศุภชลาศัย เป็นรัฐมนตรี19. ขุนสุคนธวิทศึกษากร เป็นรัฐมนตรี20. พระสารสาสน์ประพันธ์ เป็นรัฐมนตรี21. นายพันเอก พระยาอภัยสงคราม เป็นรัฐมนตรีการอุตสาหกรรม


การคมนาคม ขนส่ง,สื่อสาร


วันที่ 22 กันยายน 2477 ถึง 9 สิงหาคม 2480

รายชื่อคณะรัฐมนตรี

คณะรัฐมนตรี คณะที่ 6


ตั้งแต่
2 เนื่องจากรัฐบาลได้เสนอญัตติขอให้สภาผู้แทนราษฎรลงมติเห็นชอบ ด้วยความตกลงระหว่างประเทศเรื่องควบคุมการจำกัดยาง แต่สภาผู้แทนราษฎรไม่เห็นชอบด้วยนายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา นายกรัฐมนตรีในนามคณะรัฐมนตรี จึงได้ขอลาออกจากตำแหน่ง แต่โดยที่ทรงพระราชดำริว่าประชาชนยังไว้วางใจเชื่อถือ

นายพันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนาและทรงไว้วางพระราชหฤทัยจึงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯตั้ง นายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา เป็นนายกรัฐมนตรี และตั้งคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่22 กันยายน ดังมีรายนามดังต่อไปนี้
1. นายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา เป็นนายกรัฐมนตรี
2. นายพันเอก หลวงพิบูลสงคราม เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม
3. นายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
4. พระยามานวราชเสวี เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
5. พระสารสาสน์ประพันธ์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงธรรมการ
6. หลวงประดิษฐ์มนูธรรม เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
7. พระยานิติศาสตร์ไพศาลย์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
8. เจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัง
9. นายพลเรือตรี พระยาศรยุทธเสนี เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐการ10. พระดุลยธารณปรีชาไวท์ เป็นรัฐมนตรี11. นายนาวาตรี หลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ เป็นรัฐมนตรี12. หลวงนฤเบศร์มานิต เป็นรัฐมนตรี13. นายนาวาโท หลวงศุภชลาศัย เป็นรัฐมนตรี 15. นายพันเอก พระสิทธิเรืองเดชพล เป็นรัฐมนตรี16. นายนาวาเอก หลวงสินธุสงครามชัย เป็นรัฐมนตรี17. ขุนสุคนธวิทศึกษากร เป็นรัฐมนตรี18. พระยาสุริยานุวัตร เป็นรัฐมนตรี3 ครั้นวันที่ 1 สิงหาคม 2478 พระยามานวราชเสวี เจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์หลวงนฤเบศร์มานิต นายพันเอก พระสิทธิเรืองเดชพล ได้ลาออกจากตำแหน่ง จึงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ตั้ง
1. นายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
2. พระยามไหสวรรย์ เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง
3. พระยาศรีเสนา เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
4. พระสารสาสน์ประพันธ์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตราธิการ
5. นายนาวาเอก หลวงสินธุสงครามชัย เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงธรรมการ
6. หลวงโกวิทอภัยวงศ์ เป็นรัฐมนตรี
7. นายพันโท หลวงชำนาญยุทธศิลป์ เป็นรัฐมนตรี
8. หลวงนาถนิติธาดา เป็นรัฐมนตรี
9. นายนาวาเอก พระยาวิจารณจักรกิจ เป็นรัฐมนตรี10. นายพันตำรวจเอก หลวงอดุลเดชจรัส เป็นรัฐมนตรี ครั้นต่อมาเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2478 พระยาศรีเสนา พระสารสาสน์ประพันธ์พระยานิติศาสตร์ไพศาลย์ นายพลเรือตรี พระยาศรยุทธเสนี พระยามไหสวรรย์ได้ขอลาออกจากตำแหน่ง จึงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ตั้ง
1. พระยาไชยยศสมบัติ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
2. ขุนสมาหารหิตะคดี เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง
3. หลวงประดิษฐมนูธรรม เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
4. นายพันเอก พระยาฤทธิ์อัคเนย์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตราธิการ
5. นายนาวาตรี หลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
6. เจ้าพระยามหิธร เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
7. นายพันเอก พระบริภัณฑ์ยุทธกิจ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐการ
8. พระยาศรีเสนา เป็นรัฐมนตรี
9. พระยาสมันตรัฐบุรินทร์ เป็นรัฐมนตรี4 วันที่ 30 กันยายน 2479 พระยาสุริยานุวัตร ถึงแก่อนิจกรรม
5 วันที่ 18 ธันวาคม 2479 มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ตั้งนายพันเอกหลวงชำนาญยุทธศิลป์ เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเศรษฐการ6 วันที่ 3 มิถุนายน 2480 นายพันตำรวจเอก หลวงอดุลเดชจรัส ได้ขอ
เอกพระเวชยันตรังสฤษฎ์ เป็นรัฐมนตรี
ประกาศราชกิจจา

(ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 51 หน้า 2034 พ.ศ. 2477)
การอุตสาหกรรม


การคมนาคม ขนส่ง,สื่อสาร