สภาผู้แทนราษฏร ชุดที่ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙
สารบบญัตติ
ญัตติทั่วไป

รับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๐๑๒/๒๕๓๙ ลงวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๓๙
หนังสือที่ ลงวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๓๙
ประธานวินิจฉัย (  ) ธรรมดา         ( / ) ด่วน

ญัตติ

คดีคนร้าย 6 คนที่จังหวัดสุพรรณบุรีได้ถูกเจ้าพนักงานตำรวจฆ่าในระหว่างอยู่ในความควบคุม

ประธานสภาผู้แทนราษฎร     นายวันมูหะมัดนอร์ มะทา
นายกรัฐมนตรี      พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ

ผู้เสนอ  
  นายปรีชา  สุวรรณทัต          ประชาธิปัตย์
นายสุทัศน์  เงินหมื่น          ประชาธิปัตย์
นายจุติ  ไกรฤกษ์          ประชาธิปัตย์
ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์  บริพัตร          ประชาธิปัตย์
นายถาวร  เสนเนียม          ประชาธิปัตย์
นายสุวโรช  พะลัง          ประชาธิปัตย์
นายนิพนธ์  บุญญามณี          ประชาธิปัตย์
นายนิพิฏฐ์  อินทรสมบัติ          ประชาธิปัตย์
นายทิวา  เงินยวง          ประชาธิปัตย์
นายพีระพันธุ์  สาลีรัฐวิภาค          ประชาธิปัตย์
นายสาทิตย์  วงศ์หนองเตย          ประชาธิปัตย์
ผู้รับรอง  
  นายสุรเชษฐ์  แวอาแซ
นายพิษณุ  พลไวย์
นางวรศุลี  เชาว์ศิริกุล
นายสมัย  เจริญช่าง
นายสาวิตต์  โพธิวิหค
นายเธียร  มโนหรทัต
นายประวิช  นิลวัชรมณี
นายชาญชัย  อิสระเสนารักษ์
นายวินัย  เสนเนียม
พันตำรวจโท วิจิตร  สุวิทย์
นายบัญญัติ  บรรทัดฐาน
นายนพดล  ปัทมะ
นายองอาจ  คล้ามไพบูลย์
นางลดาวัลลิ์  วงศ์ศรีวงศ์
นายบุญมาก  ศิริเนาวกุล
นายไพโรจน์  ตันบรรจง
นายคำรณ  ณ  ลำพูน
นายวิฑูรย์  นามบุตร
นายลาภศักดิ์  ลาภาโรจน์กิจ
นายไพฑูรย์  แก้วทอง
นายสืบแสง  พรหมบุญ

นิติกร       นางสาวมงคลรัตน์ ผลสิริ

สาระและวัตถุประสงค์ วิสามัญฆาตกรรม ๖ ศพ เป็นเรื่องที่อื้อฉาวและเป็นที่สนใจของประชาชนตลอดจนเป็นที่ เคลือบแคลงสงสัยเพราะข้อเท็จจริงเป็นข้อแถลงของเจ้าหน้าที่ตำรวจกับคำให้สัมภาษณ์ ของนายตำรวจชั้นผู้ใหญ่มีลักษณะเป็นการขัดแย้งกัน จึงต้องการให้สภาฯ ตั้งกรรมาธิการ สอบสวนเรื่องดังกล่าว

หนังสือยืนยันแจ้งผู้เสนอ            สผ ๐๐๐๘ /  ๑๐๔๘๓                  ลงวันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๓๙
บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๔ สมัยสามัญ ครั้งที่หนึ่ง ลงวันที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๓๙

ผลการดำเนินงานของญัตติ    ส่งคณะรัฐมนตรีดำเนินการแล้ว