สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๑ ปี พ.ศ. ๒๕๔๔

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล โดยที่ในปัจจุบัน ชุมชนในระดับพื้นฐานของประเทศมีความตื่นตัวตามแนวพระราชดำริเรื่อง "เศรษฐกิจ พอเพียง" อันส่งผลให้เกิดกระแสการเกาะกลุ่มรวมตัวกันสร้างสรรค์กระบวนการเรียนรู้ กระบวนการผลิต และกระบวนการจัดการ และเกิดระบอบการประกอบการร่วมกันในลักษณะวิสาหกิจชุมชน เพื่อพัฒนา คุณภาพชีวิตให้สามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างพอเพียงและยั่งยืนตามแนวความคิดดังกล่าว โดยอาศัย ภูมิปัญญาท้องถิ่น ทรัพยากร และวัฒนธรรม อันถือเป็นเสมือนทุนที่มีมาแต่เดิมในชุมชนเป็นเครื่องมือและมี แนวโน้มที่จะขยายตัวเป็นเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนเชื่อมโยงประสานกันไปทั่วทั้งประเทศ ดังนั้น เพื่อให้ทันกับกระแสความเปลี่ยนแปลงแห่งวิวัฒนาการของชุมชน เพื่อส่งเสริมชุมชนให้ร่วมประกอบการวิสาหกิจชุมชนได้อย่างมั่นคงเข้มแข็ง และเพื่อตอบสนองชุมชนให้ใช้ศักยภาพไปสู่การพึ่งตนเองได้ในกระแส โลกาภิวัฒน์ ซึ่งจะส่งผลให้เกิดความมั่นคงเข้มแข็งในระบบเศรษฐกิจของประเทศชาติโดยรวม
ผู้เสนอ
๑. นายประมณฑ์ คุณะเกษม
พรรค ไทยรักไทย
ผู้รับรอง
๑. นายพงศ์เวช เวชชาชีวะ ๒. นายสฤต สันติเมทนีดล
๓. นายกฤษฎา สัจจกุล ๔. นางมยุรา มนะสิการ
๕. นายวุฒิพงศ์ ฉายแสง ๖. นายศิริ หวังบุญเกิด
๗. นายการุญ จันทรางศุ ๘. นายวัฒนา เซ่งไพเราะ
๙. นายวิชาญ มีนชัยนันท์ ๑๐. นายสุทิน คลังแสง
๑๑. นางบุญรื่น ศรีธเรศ ๑๒. นายวิชัย สามิตร
๑๓. นายพิมล ศรีวิกรม์ ๑๔. นางสาวศันสนีย์ นาคพงศ์
๑๕. นายสุวัฒน์ ม่วงศิริ ๑๖. นายแสวง ฤกษ์จรัล
๑๗. ม.ร.ว.ดำรงดิศ ดิศกุล ๑๘. นายมงคล กิมสูนจันทร์
๑๙. นายพฤฒิชัย ดำรงรัตน์ ๒๐. นายอนุสรณ์ ปั้นทอง

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๔๕
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๒๐๖๒/๒๕๔๕ ลงวันที่ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๔๕
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นางสาวอภิชญา บุญกระพือ  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( / ) เป็น        ( ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล กิจการวิสาหกิจชุมชนไม่ต้องเสียภาษีเงินได้ ภาษีมูลค่าเพิ่ม และภาษีอื่น อันเป็นการแก้ไขเปลี่ยนแปลงการวาง ระเบียบข้อบังคับอันเกี่ยวกับภาษี และรัฐต้องจัดสรรเงินงบประมาณเป็นทุนประเดิม เงินอุดหนุนทั่วไป และ เงินสมทบเท่าที่จำเป็นให้แก่กองทุนส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน

กรณีร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินของสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๕๔๖๐ ลงวันที่ ๒๑ มิถุนายน ๒๕๔๕
    หนังสือแจ้งจากผู้เสนอ (กรณีคัดค้านร่าง) ที่ ลงวันที่
                 ( ) คัดค้าน    ( ) ไม่คัดค้าน     ( / ) ไม่แจ้งคัดค้านภายใน 7 วัน
    หนังสือส่งให้นายกรัฐมนตรีรับรอง ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๕๘๕๓ ลงวันที่ ๒ กรกฎาคม ๒๕๔๕
    หนังสือแจ้งเหตุขัดข้องจากเลขาธิการนายกฯ ที่ นร ลงวันที่
    หนังสือนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๐๔๑๐/๑๔๗๑๕ ลงวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๖
                 ( / ) รับรอง    ( ) ไม่รับรอง
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ลงวันที่

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๒๘ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๔๖
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๒๘ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๔๖
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน

  พิจารณาร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายเกษม อุประ ๒. นายโกมล จิรชัยสุทธิกุล
๓. นายชวาลวุฑฒ ไชยนุวัติ ๔. นายชัย ชิดชอบ
๕. นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ ๖. นายตรีพล เจาะจิตต์
๗. นายธงชาติ รักษากุล ๘. นายธงชาติ รัตนวิชา
๙. นายธนกร นันที ๑๐. นางนิภา พริ้งศุลกะ
๑๑. นายเนวิน ชิดชอบ ๑๒. นายบุญมี จันทรวงศ์
๑๓. นายประพันธ์ ปุษยไพบูลย์ ๑๔. นายประมณฑ์ คุณะเกษม
๑๕. นายประสิทธิ์ ชัยวิรัตนะ ๑๖. นายประเสริฐ จันทรรวงทอง
๑๗. นายประเสริฐ บุญเรือง ๑๘. นายพงษ์ศักดิ์ บุญศล
๑๙. นายพ้อง ชีวานันท์ ๒๐. นายไพศาล จันทรภักดี
๒๑. นายภาคิน สมมิตร ๒๒. นายเมธี ฉัตรจินดารัตน์
๒๓. นายยงยศ อดิเรกสาร ๒๔. นายเรืองเดช สุพรรณฝ่าย
๒๕. นายวิจิตร พรพฤฒิพันธุ์ ๒๖. นายวิชัย สามิตร
๒๗. นายวิชิต นันทสุวรรณ ๒๘. นายวินัย เสนเนียม
๒๙. นายสถาพร มณีรัตน์ ๓๐. นายสนั่น สุธากุล
๓๑. นายสมศักดิ์ คุณเงิน ๓๒. นายสมาน กลิ่นเกสร
๓๓. นายสุทธิสรรค์ ศิวพิทักษ์ ๓๔. นายสุรชัย ตรีไพบูลย์
๓๕. นายสุรชัย เบ้าจรรยา
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๕๗๕ ลงวันที่ ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๔๖
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๖
  ใช้ร่างพระราชบัญญัติของ คณะรัฐมนตรี เป็นหลักในการพิจารณา

  ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกัน
  เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๒๐๕๕/๒๕๔๖ ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี (ร่างฯหลัก)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๒๐๖๒/๒๕๔๕ ผู้เสนอ นายประมณฑ์  คุณะเกษม (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๒๐๕๔/๒๕๔๖ ผู้เสนอ นายประสิทธิ์  ชัยวิรัตนะ (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๒๐๕๖/๒๕๔๖ ผู้เสนอ นายชัย  ชิดชอบ (ร่างฯทำนองเดียวกัน)

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๔๗
  ผลการพิจารณา ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๓๐๗/๒๕๔๗      ลงวันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๔๗

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๕ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๗
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๕ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๗
  มติ ( / ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ

หนังสือยืนยันไปยังวุฒิสภา ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๑๗๔๑ ลงวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๗

การพิจารณาของวุฒิสภา
  เลขทะเบียนรับ (กองกลาง สว.) ๐๐๐๕/๒๕๔๗ ลงวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๗
  เลขทะเบียนรับ (กองการประชุม สว.) ๐๐๘๕/๒๕๔๗ ลงวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๗
  เลขทะเบียนรับ (ฝ่ายญัตติ สว.) ๐๐๐๔/๒๕๔๗ ลงวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๗

การพิจารณาวาระที่ ๑ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( / ) เห็นชอบด้วยกับหลักการ        ( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับหลักการ

ส่งคณะกรรมาธิการ
  ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน คน
  วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกวุฒิสภา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการประกอบด้วย

  หนังสือยืนยันมติ ที่ สว ๐๐๐๘ / ลงวันที่
  กำหนดการแปรญัตติ วัน
  สิ้นสุดวันที่

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่
  ผลการพิจารณา               ( ) มีข้อสังเกต        ( ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังวุฒิสภา ที่ ลงวันที่

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( / ) แก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ

  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๒๕๒๘ (ด่วนที่สุด) ลงวันที่ ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๔๗

กรณีวุฒิสภาลงมติแก้ไขเพิ่มเติม
สภาผู้แทนราษฎรเห็นว่าเป็นการแก้ไขเพิ่มเติมในสาระสำคัญหรือกรณีอื่น และไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม
  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๒๕๒๘ (ด่วนที่สุด) ลงวันที่ ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๔๗
  สภาผู้แทนราษฎรรับที่ ๘๔/๒๕๔๗ ลงวันที่ ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๔๗
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๓๔ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๔๗  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๑๔ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๔๗  
  มติ ( ) เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม ( / ) ไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม

  สภาผู้แทนราษฎรกำหนดกรรมาธิการร่วมกันฝ่ายละ ๑๒ คน
  ร่วมกันพิจารณาร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ.
คณะกรรมาธิการฝ่ายสภาผู้แทนราษฎรประกอบด้วย
 
๑. นายชัย ชิดชอบ ๒. นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ
๓. นายตรีพล เจาะจิตต์ ๔. นายธนกร นันที
๕. นายประเสริฐ จันทรรวงทอง ๖. นายไพศาล จันทรภักดี
๗. นายภาคิน สมมิตร ๘. นายเมธี ฉัตรจินดารัตน์
๙. นายวิชัย สามิตร ๑๐. นายวินัย เสนเนียม
๑๑. นายสุรชัย เบ้าจรรยา ๑๒. นายประเสริฐ บุญเรือง

  หนังสือสภาผู้แทนราษฎรแจ้งจำนวนกรรมาธิการร่วมกัน ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๑๑๓๖๙ ลงวันที่ ๒๗ กันยายน ๒๕๔๗
  วุฒิสภารับที่ ลงวันที่

  หนังสือวุฒิสภาแจ้งการตั้งกรรมาธิการร่วมกัน ที่ สว ๐๐๐๘ / ลงวันที่

  คณะกรรมาธิการร่วมกันพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวัน ๒๗ ตุลาคม ๒๕๔๗  
  ผลการพิจารณา ( ) มีข้อสังเกต       ( / ) ไม่มีข้อสังเกต  
หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการร่วมกันไปยังสภาผู้แทนราษฎร ๓๙๖๗/๒๕๔๗ ลงวันที่ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๔๗

ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๒๖ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๗  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๒๘ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๔๗
  มติ ( / ) เห็นชอบ       ( ) ไม่เห็นชอบ  
  หนังสือสภาผู้แทนราษฎรแจ้งกลับไปยังวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๘ / ๑๓๑๗๖ ลงวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๗

ที่ประชุมวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ  
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( / ) เห็นชอบ       ( ) ไม่เห็นชอบ  
  หนังสือแจ้งจากวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๘ / ๖๔๖๔ ลงวันที่ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๔๗

ร่างพระราชบัญญัติได้รับความเห็นชอบของรัฐสภา
  หนังสือยืนยันไปยังเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ สผ ๐๐๐๘ / ลงวันที่
  ประกาศราชกิจจานุเบกษา ประเภท ก ฉบับกฤษฎีกา
  เล่มที่ ๑๒๒ ตอน ๖ ก หน้าที่ - วันที่ ๑๘ มกราคม ๒๕๔๘ พุทธศักราช ๒๕๔๘

สถานภาพของร่างฯ เห็นชอบประกาศใช้เป็นกฎหมาย