สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๑ ปี พ.ศ. ๒๕๔๔

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ พ.ศ. .....
หลักการและเหตุผล โดยที่รูปแบบของการให้บริการขนส่งระหว่างประเทศได้พัฒนาไปจากเดิมที่มีลักษณะเป็นการ ให้บริการขนส่งสินค้าจากท่าเรือ หรือจากท่าอากาศยานถึงท่าอากาศยานจนสามารขยายบริการ เป็นลักษณะจากประตูถึงประตูโดยไม่คำนึงว่าในการปฏิบัติการขนส่งจะต้องเกี่ยวข้องกับรูปแบบ หรือยานพาหนะประเภทใด ฉะนั้น จึงต้องกำหนดหลักเกณฑ์ในการอนุญาตและหลักเกณฑ์ในการ ประกอบกิจการเพื่อรองรับการบริการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบดังกล่าว และเพื่อให้สามารถอำนวย ความสะดวกแก่การดำเนินธุรกิจระหว่างประเทศที่มีการแข่งขันสูง
ผู้เสนอ
๑. นายเทวัญ ลิปตพัลลภ ๒. นายพงษ์พิช รุ่งเป้า
พรรค ชาติพัฒนา
ผู้รับรอง
๑. นายประทีป กรีฑาเวช ๒. พันเอก วินัย สมพงษ์
๓. นายสมศักดิ์ โสมกลาง ๔. นายวิสิทธิ์ พิทยาภรณ์
๕. นายมหรรณพ เดชวิทักษ์ ๖. นายประชาธิปไตย คำสิงห์นอก
๗. นายธวัชชัย อนามพงษ์ ๘. นายวุฒิชัย สงวนวงศ์ชัย
๙. นายประสิทธิ์ ชัยวิรัตนะ ๑๐. นายสมชัย ฉัตรพัฒนศิริ
๑๑. นายสุรพงษ์ อึ้งอัมพรวิไล ๑๒. นายวารุจ ศิริวัฒน์
๑๓. นางปวีณา หงสกุล ๑๔. นายสมเจตน์ ลิมปะพันธุ์
๑๕. นายสมศักดิ์ พันธ์เกษม ๑๖. นายวรรณรัตน์ ชาญนุกูล
๑๗. นายอมรเทพ สมหมาย ๑๘. นางกอบกุล นพอมรบดี
๑๙. นายศรคม ฦาชา ๒๐. นายวิชัย ชัยจิตวณิชกุล

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๔๖
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๒๐๕๒/๒๕๔๖ ลงวันที่ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๔๖
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นางสาวสุภัตรา วรวุฒิธีรกุล  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( / ) เป็น        ( ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล เป็นการออกกฎหมายเพื่อกำหนดหลักเกณฑ์กรประกอบกิจการการบริการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ และมีการเก็บค่าธรรมเนียมการขอใบอนุญาตและอื่นๆ ทำให้รัฐมีรายรับเพิ่มขึ้น กระทบต่องบประมาณ ของแผ่นดิน

กรณีร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินของสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ลงวันที่
    หนังสือแจ้งจากผู้เสนอ (กรณีคัดค้านร่าง) ที่ ลงวันที่
                 ( ) คัดค้าน    ( / ) ไม่คัดค้าน     ( ) ไม่แจ้งคัดค้านภายใน 7 วัน
    หนังสือส่งให้นายกรัฐมนตรีรับรอง ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๑๑๔๒๗ ลงวันที่ ๑๕ ตุลาคม ๒๕๔๖
    หนังสือแจ้งเหตุขัดข้องจากเลขาธิการนายกฯ ที่ นร ลงวันที่
    หนังสือนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๐๔๑๐/๑๓๘๓๕ ลงวันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๔๖
                 ( / ) รับรอง    ( ) ไม่รับรอง
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ลงวันที่

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๒๔ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๔๖
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๒๔ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๔๖
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน

  พิจารณาร่างพระราชบัญญัติการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายกริช กงเพชร ๒. นายคงกฤช หงษ์วิไล
๓. นายเจริญ คันธวงศ์ ๔. นายเจริญ จรรย์โกมล
๕. นายเฉลิมชัย อุฬารกุล ๖. นายชินวัฒน์ ชินแสงอร่าม
๗. นายดิสทัต โหตระกิตย์ ๘. นายเตชะ บุณยะชัย
๙. นายนพดล ปัทมะ ๑๐. นายประเวช ศรียะวงษ์
๑๑. พันตำรวจเอก ปรีดี เจริญศิลป์ ๑๒. นายปัญญา จีนาคำ
๑๓. นายปิติพงศ์ เต็มเจริญ ๑๔. นายพิทยา บุญเฉลียว
๑๕. นายภิมุข สิมะโรจน์ ๑๖. นางสาวภูวนิดา คุนผลิน
๑๗. นางสาวยุวลักษณ์ อ๓ธนาคุณ ๑๘. พลเอก รัตนะ เฉลิมแสนยากร
๑๙. พลเรือโท โรช วิภัติภูมิประเทศ ๒๐. นายวันชัย ศารทูลทัต
๒๑. นายวิชัย ประทิปปรีชา ๒๒. นายวิทูร กรุณา
๒๓. นายวิสันต์ เดชเสน ๒๔. นายสมชัย ฉัตรพัฒนศิริ
๒๕. นายสมพร ไพสิน ๒๖. นายสมศักดิ์ โสมกลาง
๒๗. นายสัมพันธ์ แป้นพัฒน์ ๒๘. นายสาธิต ปิตุเตชะ
๒๙. นายสามารถ แก้วมีชัย ๓๐. นายสิทธิชัย กิตติธเนศวร
๓๑. นายสุรชัย พันธุมาศ ๓๒. นายสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล
๓๓. นายอนุชา นาคาศัย ๓๔. นายอภิชาต การิกาญจน์
๓๕. นางสาวอาภาภรณ์ พุทธปวน
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๕๔๗ ลงวันที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๔๖
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่ ๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๖
  ใช้ร่างพระราชบัญญัติของ คณะรัฐมนตรี เป็นหลักในการพิจารณา

  ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกัน
  เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๒๐๓๖/๒๕๔๖ ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี (ร่างฯหลัก)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๒๐๕๒/๒๕๔๖ ผู้เสนอ นายเทวัญ  ลิปตพัลลภ (ร่างฯทำนองเดียวกัน)

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๓ พฤษภาคม ๒๕๔๗
  ผลการพิจารณา ( / ) มีข้อสังเกต        ( ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๒๔๘๐/๒๕๔๗      ลงวันที่ ๓ พฤษภาคม ๒๕๔๗

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๒๖ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๔๗
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๑๒ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๔๗
  มติ ( / ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ

กรณีมีข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการ
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๑๒ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๔๗
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับข้อสังเกต     ( ) ไม่เห็นด้วยกับข้อสังเกต

หนังสือยืนยันไปยังวุฒิสภา ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๑๐๙๔๐ ลงวันที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๔๗

การพิจารณาของวุฒิสภา
  เลขทะเบียนรับ (กองกลาง สว.) ๐๐๔๕/๒๕๔๗ ลงวันที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๔๗
  เลขทะเบียนรับ (กองการประชุม สว.) ๐๕๔๙/๒๕๔๗ ลงวันที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๔๗
  เลขทะเบียนรับ (ฝ่ายญัตติ สว.) ๐๐๒๗/๒๕๔๗ ลงวันที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๔๗

การพิจารณาวาระที่ ๑ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( / ) เห็นชอบด้วยกับหลักการ        ( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับหลักการ

ส่งคณะกรรมาธิการ
  ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน คน
  วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกวุฒิสภา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการประกอบด้วย

  หนังสือยืนยันมติ ที่ สว ๐๐๐๘ / ลงวันที่
  กำหนดการแปรญัตติ วัน
  สิ้นสุดวันที่

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่
  ผลการพิจารณา               ( ) มีข้อสังเกต        ( ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังวุฒิสภา ที่ ลงวันที่

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( / ) แก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ

  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๖๔๖๓ (ด่วนที่สุด) ลงวันที่ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๔๗

กรณีวุฒิสภาลงมติแก้ไขเพิ่มเติม
  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๖๔๖๓ (ด่วนที่สุด) ลงวันที่ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๔๗
  สภาผู้แทนราษฎรรับที่ ๒๒๗/๒๕๔๗ ลงวันที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๔๗
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๓๐ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๔๗  
  ที่ประชุมพิจารณา  
  มติ ( ) เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม ( ) ไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม

การพิจารณาของร่างฯ อยู่ระหว่างการพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎรเนื่องจากวุฒิสภาแก้ไขเพิ่มเติม