สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๑ ปี พ.ศ. ๒๕๔๔

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติการผลิตผลิตภัณฑ์ซีดี พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล ให้มีกฎหมายว่าด้วยการผลิตผลิตภัณฑ์ซีดี โดยที่ปัจจุบันปัญหาการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาในประเทศไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาการละเมิด ลิขสิทธิ์ในรูปผลิตภัณฑ์ซีดีได้ทวีความรุนแรงจนกระทั่งกลไกของรัฐที่มีอยู่ไม่สามารถที่จะควบคุม หรือป้องปรามการละเมิดดังกล่าวได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงเห็นสมควรมีมาตรการกำกับดูแลการผลิต ผลิตภัณฑ์ซีดี โดยการกำหนดขั้นตอนการแจ้งการผลิตสำหรับผู้ที่ประสงค์จะประกอบการผลิต การครอบครองเครื่องจักรที่ใช้ในการผลิต ตลอดจนการรายงานปริมาณและสถานที่เก็บวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต ซึ่ง มาตรการดังกล่าวจะช่วยเสริมสร้างกลไกการป้องปรามการละเมิดลิขสิทธิ์ให้มีประสิทธิภาพและเป็นระบบ มากขึ้นรวมทั้งจะทำให้การจัดเก็บภาษีอากรได้ผลเต็มที่ ทั้งจะทำให้ผู้ประกอบธุรกิจเกี่ยวกับการผลิต ผลิตภัณฑ์ซีดีดำเนินการผลิตสินค้าที่ถูกต้องตามกฎหมาย
ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี
เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ๐๕๐๓/๑๓๑๓๕ ลงวันที่ ๙ กันยายน ๒๕๔๖
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๒๐๓๙/๒๕๔๖ ลงวันที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๔๖
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นางสาวอุทัยวรรณ อร่ามศรี  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( ) เป็น        ( / ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล ร่างพรบ.ฉบับนี้เป็นการออกกฎหมายเพื่อควบคุมการผลิตผลิตภัณฑ์ซีดีที่ต้องแจ้งให้เจ้าหน้าที่ทราบ โดยรัฐ ไม่ได้จัดเก็บค่าธรรมเนียมในการแจ้งนี้จึงไม่มีรายรับเพิ่มขึ้น เป็นแต่เพียงการสร้างกลไกในการป้องปราม การละเมิดลิขสิทธิ์ จึงไม่มีผลกระทบต่องบประมาณของแผ่นดิน

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๑๔ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๔๖
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๑๔ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๔๖
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน

  พิจารณาร่างพระราชบัญญัติการผลิตผลิตภัณฑ์ซีดี พ.ศ.....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายเกษม สรศักดิ์เกษม ๒. นายจักรพันธุ์ ยมจินดา
๓. นายจำนงค์ โพธิสาโร ๔. นายจุติ ไกรฤกษ์
๕. นายชัยวัฒน์ ทวีวงศ์แสงทอง ๖. นายเทียนชัย ปิ่นวิเศษ
๗. นายธีระชัย แสงแก้ว ๘. พันตำรวจโท บรรยิน ตั้งภากรณ์
๙. นายบูราฮานูดิน อุเซ็ง ๑๐. นายประกิจ พลเดช
๑๑. นายประมณฑ์ คุณะเกษม ๑๒. นายประวิช นิลวัชรมณี
๑๓. นายประแสง มงคลสิริ ๑๔. นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค
๑๕. นายภาคิน สมมิตร ๑๖. นางสาวภานุมาศ สิทธิเวคิน
๑๗. นายยรรยง พวงราช ๑๘. นายรณฤทธิชัย คานเขต
๑๙. นายวราวุธ ศิลปอาชา ๒๐. นายวัฒนา เมืองสุข
๒๑. นายวิชัย สามิตร ๒๒. นายวินัย เสนเนียม
๒๓. นางสาวศุภมาส อิศรภักดี ๒๔. นายสมชัย ฉัตรพัฒนศิริ
๒๕. นายสุชาติ บรรดาศักดิ์ ๒๖. นายสุชิน ควรสงวน
๒๗. นายสุรชัย เบ้าจรรยา ๒๘. นายสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล
๒๙. นายโสภณ เพชรสว่าง ๓๐. นายอดุลย์ นิลเปรม
๓๑. นางอรทัย ฐานะจาโร ๓๒. นายอริสมันต์ พงศ์เรืองรอง
๓๓. นายเอกธนัช อินทร์รอด ๓๔. นายเอกพจน์ ปานแย้ม
๓๕. นายเอกพจน์ ยวงนาค
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๔๘๕ ลงวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๔๖
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๔๖
  ใช้ร่างพระราชบัญญัติของ คณะรัฐมนตรี เป็นหลักในการพิจารณา

  ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกัน
  เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๒๐๓๙/๒๕๔๖ ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี (ร่างฯหลัก)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๒๐๔๒/๒๕๔๖ ผู้เสนอ นายสมชัย  ฉัตรพัฒนศิริ (ร่างฯทำนองเดียวกัน)

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๘ มีนาคม ๒๕๔๗
  ผลการพิจารณา ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๑๐๗๓/๒๕๔๗      ลงวันที่ ๘ มีนาคม ๒๕๔๗

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๑๓ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๔๗
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๒๖ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๔๗
  มติ ( / ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ

หนังสือยืนยันไปยังวุฒิสภา ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๕๕๖๗ ลงวันที่ ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๔๗

การพิจารณาของวุฒิสภา
  เลขทะเบียนรับ (กองกลาง สว.) ๐๐๑๙/๒๕๔๗ ลงวันที่ ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๔๗
  เลขทะเบียนรับ (กองการประชุม สว.) ๐๓๑๘/๒๕๔๗ ลงวันที่ ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๔๗
  เลขทะเบียนรับ (ฝ่ายญัตติ สว.) ๐๐๑๗/๒๕๔๗ ลงวันที่ ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๔๗

การพิจารณาวาระที่ ๑ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( / ) เห็นชอบด้วยกับหลักการ        ( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับหลักการ

ส่งคณะกรรมาธิการ
  ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน คน
  วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกวุฒิสภา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการประกอบด้วย

  หนังสือยืนยันมติ ที่ สว ๐๐๐๘ / ลงวันที่
  กำหนดการแปรญัตติ วัน
  สิ้นสุดวันที่

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่
  ผลการพิจารณา               ( ) มีข้อสังเกต        ( ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังวุฒิสภา ที่ ลงวันที่

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( / ) แก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ

  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๕๒๔๕ (ด่วนที่สุด) ลงวันที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๔๗

กรณีวุฒิสภาลงมติแก้ไขเพิ่มเติม
สภาผู้แทนราษฏรเห็นว่ามิได้เป็นการแแก้ไขเพิ่มเติมในสาระสำคัญ และเห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม
  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๕๒๔๕ (ด่วนที่สุด) ลงวันที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๔๗
  สภาผู้แทนราษฎรรับที่ ๑๖๕/๒๕๔๗ ลงวันที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๔๗
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๑๖ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๔๗  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๑๘ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๔๗  
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม ( ) ไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม

การวินิจฉัยร่างพระราชบัญญัติของศาลรัฐธรรมนูญ
  สมาชิกสภาผู้แทนราษฏรเสนอให้ส่งร่าง :vddis  
  หนังสือส่งร่างพระราชบัญญัติไปยังศาลรัฐธรรมนูญ ที่ :vbksn ลงวันที่ :vbdsn
  ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ :vbdju  
  มติ () ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ
() ไม่ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ
 
  หนังสือแจ้งไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ :vrcju ลงวันที่ :vdrju

สถานภาพของร่างฯ เห็นชอบประกาศใช้เป็นกฎหมาย