สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๑ ปี พ.ศ. ๒๕๔๔

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล โดยที่มาตรา ๓๖ แห่งพระาชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ บัญญัติให้สถานศึกษาของรัฐ ที่จัดการศึกษาระดับปริญญาเป็นนิติบุคคล เพื่อที่จะกระจายอำนาจการบริหารจัดการศึกษาไปยัง สถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับปริญญา และเพื่อเป็นหลักประกันในการกระจายอำนาจ แต่โดยที่สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน กรมอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการมีสถานะเป็นกองซึ่ง ไม่เป็นนิติบุคคล ดังนั้น สมควรมีกฎหมายรองรับสถานะให้สอดคล้องบทบัญญัติดังกล่าว ทั้งนี้โดยอยู่ภายใต้หลักการที่ว่าสถานศึกษานั้นจะต้องสามารถดำเนินการบริหารและการจัด การศึกษาได้โดยอิสระ สามารถพัฒนาระบบบริหารและการจัดการเป็นของตนเอง มีความคล่องตัว มีเสรีภาพทางวิชาการและอยู่ภายใต้การบริหารและกำหนดนโยบายโดยสภาสถานศึกษา และมี วัตถุประสงค์ให้การศึกษา ส่งเสริมวิชาการและวิชาชีพชั้นสูง ทำการสอนทำการวิจัย ให้บริการ ทางวิชาการในด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี
เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ๐๕๐๓/๔๐๐๘ ลงวันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๔๖
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๒๐๑๔/๒๕๔๖ ลงวันที่ ๒๔ มีนาคม ๒๕๔๖
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นางสาวสุภัตรา วรวุฒิธีรกุล  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( / ) เป็น        ( ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล รายได้ของสถาบันไม่ต้องนำส่งกระทรวงการคลัง ทำให้รัฐขาดรายรับและเป็นการโอน กิจการ ทรัพย์สิน หนี้สิน และเงินงบประมาณมาเป็นของสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน ตามพระราชบัญญัตินี้ จึงเป็นการโอนงบประมาณรายจ่ายของแผ่นดิน ตามมาตรา ๑๖๙ (๒)

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๑๗ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๒ เมษายน ๒๕๔๖
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๑๘ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๙ เมษายน ๒๕๔๖
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน

  วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติธนาคารออมสิน (ฉบับที่...) พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายกฤษฎา อุทยานิน ๒. ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง
๓. นายเจริญ จรรย์โกมล ๔. นายเฉลิมชัย อุฬารกุล
๕. นายชัยวุฒิ ธนาคมานุสรณ์ ๖. พันโทหญิง ฐิติยา รังสิตพล
๗. นางดนุชา ยินดีพิธ ๘. นายถวิล ฤกษ์หร่าย
๙. นายธนญ ตันติสุนทร ๑๐. นายธราพงษ์ สีลาวงษ์
๑๑. นางสาวนงเยาว์ พาชีรัตน์ ๑๒. นายนิพัทธ พุกกะณะสุต
๑๓. นายบรรจง ตะริโย ๑๔. พันตำรวจโท บรรยิน ตั้งภากรณ์
๑๕. นายบุญเติม จันทะวัฒน์ ๑๖. นายบุรินทร์ หิรัญบูรณะ
๑๗. นายประชา ประสพดี ๑๘. นางสาวพรทิพย์ จาละ
๑๙. นายพิทยา บุญเฉลียว ๒๐. นายพีระเพชร ศิริกุล
๒๑. นายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ ๒๒. นายยงยุทธ สุวภาพ
๒๓. นายรุ่งเรือง พิทยศิริ ๒๔. นายเรวัต สิรินุกุล
๒๕. พลเรือโท โรช วิภัติภูมิประเทศ ๒๖. นายวิจิตร สุพินิจ
๒๗. นายวิชัย โถสุวรรณจินดา ๒๘. นายวุฒิชัย กิตติธเนศวร
๒๙. นายสำเร็จ อัจฉริยะประสิทธิ์ ๓๐. นายสุรพล เกียรติไชยากร
๓๑. นายสุลัยมาลย์ วงษ์พานิช ๓๒. นายสุวัฒน์ ม่วงศิริ
๓๓. นายสุวัฒน์ วรรณศิริกุล ๓๔. ร้อยเอกอนุชิต ตันศรีสกุล
๓๕. นายอิสสระ สมฃัย
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ลงวันที่
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่

  ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกัน
  เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๒๐๑๔/๒๕๔๖ ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี (ร่างฯหลัก)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๒๒๔/๒๕๔๔ ผู้เสนอ นายประกอบ  รัตนพันธ์ (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๒๐๑๕/๒๕๔๖ ผู้เสนอ นายเทวัญ  ลิปตพัลลภ (ร่างฯทำนองเดียวกัน)

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๑๓ สิงหาคม ๒๕๔๖
  ผลการพิจารณา ( / ) มีข้อสังเกต        ( ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๔๓๒๑/๒๕๔๖      ลงวันที่ ๑๓ สิงหาคม ๒๕๔๖

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๒๒ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๑๕ ตุลาคม ๒๕๔๖
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๒๒ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๑๕ ตุลาคม ๒๕๔๖
  มติ ( / ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ

กรณีมีข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการ
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๒๒ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๑๕ ตุลาคม ๒๕๔๖
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับข้อสังเกต     ( ) ไม่เห็นด้วยกับข้อสังเกต
  หนังสือส่งข้อสังเกตของกรรมาธิการไปยังเลขาธิการ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๑๒๓๓๕ ลงวันที่ ๒๑ ตุลาคม ๒๕๔๗
  หนังสือแจ้งผลการปฎิบัติการตามข้อสังเกตจากเลขาธิการ ที่ นร ๐๕๐๓/๑๗๑๘๕ ลงวันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๗

หนังสือยืนยันไปยังวุฒิสภา ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๑๑๘๐๑ ลงวันที่ ๒๔ ตุลาคม ๒๕๔๖

การพิจารณาของวุฒิสภา
  เลขทะเบียนรับ (กองกลาง สว.) ๐๐๕๕/๒๕๔๗ ลงวันที่ ๒๗ กันยายน ๒๕๔๗
  เลขทะเบียนรับ (กองการประชุม สว.) ๐๕๗๐/๒๕๔๗ ลงวันที่ ๒๗ กันยายน ๒๕๔๗
  เลขทะเบียนรับ (ฝ่ายญัตติ สว.) ๐๐๓๓/๒๕๔๗ ลงวันที่ ๒๗ กันยายน ๒๕๔๗

การพิจารณาวาระที่ ๑ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( / ) เห็นชอบด้วยกับหลักการ        ( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับหลักการ

ส่งคณะกรรมาธิการ
  ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน คน
  วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกวุฒิสภา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการประกอบด้วย

  หนังสือยืนยันมติ ที่ สว ๐๐๐๘ / ลงวันที่
  กำหนดการแปรญัตติ วัน
  สิ้นสุดวันที่

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่
  ผลการพิจารณา               ( ) มีข้อสังเกต        ( ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังวุฒิสภา ที่ ลงวันที่

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( / ) แก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ

  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๐๘๒๙ (ด่วนที่สุด) ลงวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๗

กรณีวุฒิสภาลงมติแก้ไขเพิ่มเติม
สภาผู้แทนราษฎรเห็นว่าเป็นการแก้ไขเพิ่มเติมในสาระสำคัญหรือกรณีอื่น และไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม
  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๐๘๒๙ (ด่วนที่สุด) ลงวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๗
  สภาผู้แทนราษฎรรับที่ ๒๔/๒๕๔๗ ลงวันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๔๗
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๑๙ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๗ เมษายน ๒๕๔๗  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๑๙ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๗ เมษายน ๒๕๔๗  
  มติ ( ) เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม ( / ) ไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม

  สภาผู้แทนราษฎรกำหนดกรรมาธิการร่วมกันฝ่ายละ ๑๒ คน
  พิจารณาร่างพระราชบัญญัติเทคโนโลยีปทุมวัน พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการฝ่ายสภาผู้แทนราษฎรประกอบด้วย
 
๑. นายทวีศักดิ์ อนรรฆพันธ์ ๒. นายเทวัญ ลิปตพัลลภ
๓. นายนพคุณ รัฐผไท ๔. นายบุญเติม จันทะวัฒน์
๕. นายบุญส่ง ไข่เกษ ๖. นายประกอบ รัตนพันธ์
๗. นายประจวบ อึ๊งภากรณ์ ๘. นายประแสง มงคลศิริ
๙. นายพายัพ ปั้นเกตุ ๑๐. นายวิจิตร ศรีสอ้าน
๑๑. นายศุภชัย โพธิ์สุ ๑๒. นายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์

  หนังสือสภาผู้แทนราษฎรแจ้งจำนวนกรรมาธิการร่วมกัน ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๔๓๒๖ ลงวันที่ ๑๙ เมษายน ๒๕๔๗
  วุฒิสภารับที่ ลงวันที่

  หนังสือวุฒิสภาแจ้งการตั้งกรรมาธิการร่วมกัน ที่ สว ๐๐๐๘ / ลงวันที่

  คณะกรรมาธิการร่วมกันพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวัน ๑๗ สิงหาคม ๒๕๔๗  
  ผลการพิจารณา ( / ) มีข้อสังเกต       ( ) ไม่มีข้อสังเกต  
หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการร่วมกันไปยังสภาผู้แทนราษฎร ๒๘๒๒/๒๕๔๗ ลงวันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๔๗

ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๑๔ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๔๗  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๑๔ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๔๗
  มติ ( / ) เห็นชอบ       ( ) ไม่เห็นชอบ  
  หนังสือสภาผู้แทนราษฎรแจ้งกลับไปยังวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๘ / ๑๑๑๙๔ ลงวันที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๔๗

ที่ประชุมวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ  
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( / ) เห็นชอบ       ( ) ไม่เห็นชอบ  
  หนังสือแจ้งจากวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๘ / ๕๘๕๐ ลงวันที่ ๑๕ ตุลาคม ๒๕๔๗

ร่างพระราชบัญญัติได้รับความเห็นชอบของรัฐสภา
  หนังสือยืนยันไปยังเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๑๒๓๓๔ ลงวันที่ ๒๑ ตุลาคม ๒๕๔๗
  ประกาศราชกิจจานุเบกษา ประเภท ก ฉบับกฤษฎีกา
  เล่มที่ ๑๒๑ ตอน ๗๗ก หน้าที่ - วันที่ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๔๗ พุทธศักราช ๒๕๔๗

สถานภาพของร่างฯ เห็นชอบประกาศใช้เป็นกฎหมาย