สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๑ ปี พ.ศ. ๒๕๔๔

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติพัฒนาการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล เนื่องจากในปัจจุบันองค์กรที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานยุติธรรมมีอยู่หลายองค์กร ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบ ตามกฎหมายในแต่ละด้านแยกจากกัน จึงเกิดปัญหาในการบริหารงาน สมควรให้การบริหารงานยุติธรรม เป็นไปโดยสอดคล้องกันและมีการพัฒนาอย่างมีระบบ โดยให้มีคณะกรรมการการยุติธรรมแห่งชาติขึ้น รวมทั้งให้สำนักงานกิจการยุติธรรมมีอำนาจหน้าที่ครอบคลุมมากยิ่งขึ้นด้วย
ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี
เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ๐๕๐๓/๔๒๑๕ ลงวันที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๔๗
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๒๐๑๑/๒๕๔๗ ลงวันที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๔๗
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นางสาวสุภัตรา วรวุฒิธีรกุล  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( / ) เป็น        ( ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล เป็นการวางหลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทนซึ่งยังไม่เคยมีระเบียบให้เบิกจ่ายได้ขึ้นใหม่ ทำให้รัฐต้องจัดสรร งบประมาณรายจ่ายของแผ่นดินมาดำเนินการ

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๑๗ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๔๗
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๑๙ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๗ เมษายน ๒๕๔๗
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน

  พิจารณาร่างพระราชบัญญัติพัฒนาการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายเกษม สรศักดิ์เกษม ๒. นายจินดา วงศ์สวัสดิ์
๓. นายชัยพร ธนถาวรลาภ ๔. นายชาญณรงค์ ปราณีจิตต์
๕. นายชาตรี พิริยะกิจไพบูลย์ ๖. นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ
๗. นายนคร มาฉิม ๘. นายนพคุณ รัฐผไท
๙. นายนิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ ๑๐. พันตำรวจโท บรรยิน ตั้งภากรณ์
๑๑. นายปกิต พัฒนกุล ๑๒. นายประเสริฐ จันทรรวงทอง
๑๓. นายปิติพงศ์ เต็มเจริญ ๑๔. นายพรชัย อัศววัฒนาพร
๑๕. นายพิเชษฐ พันธุ์วิชาติกุล ๑๖. นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค
๑๗. นายพูลสวัสดิ์ โหตระไวศยะ ๑๘. นายลิขิต หมู่ดี
๑๙. นายวัฒนา เซ่งไพเราะ ๒๐. นายวัลลภ นาคบัว
๒๑. นายวิรัตน์ กัลยาศิริ ๒๒. นายวิรัตน์ ตยางคนนท์
๒๓. นายวิศิษฏ์ วิศิษฏ์สรอรรถ ๒๔. นายวิสิทธิ์ พิทยาภรณ์
๒๕. นายวุฒิพงศ์ ฉายแสง ๒๖. นายศุภชัย ใจสมุทร
๒๗. นายสราวุธ เบญจกุล ๒๘. นายสิทธิชัย โควสุรัตน์
๒๙. นายสุทัศน์ เงินหมื่น ๓๐. นายสุพจน์ ฤชุพันธุ์
๓๑. นายสุภาพ คลี่ขจาย ๓๒. นายสุรพล เอกโยคยะ
๓๓. นายอดิศักดิ์ โภคกุลกานนท์ ๓๔. นายอลงกรณ์ พลบุตร
๓๕. นายอัชพร จารุจินดา
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๑๕๓ ลงวันที่ ๙ เมษายน ๒๕๔๗
  กำหนดแปรญัตติ ๑๕ วัน สิ้นสุดวันที่ ๒๒ เมษายน ๒๕๔๗
  ใช้ร่างพระราชบัญญัติของ คณะรัฐมนตรี เป็นหลักในการพิจารณา

  ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกัน
  เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๒๐๑๑/๒๕๔๗ ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี (ร่างฯหลัก)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๑๖๕/๒๕๔๔ ผู้เสนอ นายสุทัศน์  เงินหมื่น (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๑๖๖/๒๕๔๔ ผู้เสนอ นายสุทัศน์  เงินหมื่น (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๒๐๐๖/๒๕๔๗ ผู้เสนอ นายณัฐวุฒิ  ประเสริฐสุวรรณ (ร่างฯทำนองเดียวกัน)

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๕ สิงหาคม ๒๕๔๗
  ผลการพิจารณา ( / ) มีข้อสังเกต        ( ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๒๗๒๖/๒๕๔๗      ลงวันที่ ๕ สิงหาคม ๒๕๔๗

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๓ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๑๘ สิงหาคม ๒๕๔๗
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๑๖ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๔๗
  มติ ( / ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ

กรณีมีข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการ
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๑๖ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๔๗
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับข้อสังเกต     ( ) ไม่เห็นด้วยกับข้อสังเกต

หนังสือยืนยันไปยังวุฒิสภา ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๑๑๖๙๓ ลงวันที่ ๔ ตุลาคม ๒๕๔๗

การพิจารณาของร่างฯ อยู่ระหว่างการดำเนินการของเจ้าหน้าที่ (วุฒิสภา)