สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๑ ปี พ.ศ. ๒๕๔๔

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล ให้มีกฎหมายว่าด้วยการอาชีวศึกษา โดยกำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับระบบการบริหาร การจัดการ กระบวนการของการจัดการอาชีวศึกษาและการฝึกอบรมวิชาชีพ กำหนดความ ร่วมมือในการจัดการการอาชีวศึกษาและการฝึกอบรมวิชาชีพของสถานประกอบการและ สถานศึกษาเอกชนที่ประสงค์จะดำเนินการร่วมกับสถาบันการศึกษาภาครัฐให้ยื่นคำขอจด ทะเบียนเพื่อที่จะได้รับการรับรองและได้รับสิทธิประโยชน์ตามที่กฎหมายกำหนด กำหนดให้มี การบริหารการอาชีวศึกษาระดับชาติ ซึ่งอยู่ในการดูแลของคณะกรรมการอาชีวศึกษา เรียก โดยย่อว่า "ก.ศอ." ประกอบด้วยผู้แทนภาครัฐ เอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งการกำหนดจำนวน คุณสมบัติ หลักเกณฑ์และวิธีการสรรหาให้เป็นไปตามข้อกำหนด ในกฎกระทรวง กำหนดอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ ให้มีสำนักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา มีฐานะเป็นนิติบุคคล (โดยให้โอนทรัพย์สินและบุคลากรที่มีอยู่เดิมของกรม อาชีวศึกษา (ตามบทเฉพาะกาล) โดยมีเลขาธิการสำนักงานเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และบริหารราชการขึ้นตรงต่อรัฐมนตรี รวมทั้งกำหนดอำนาจหน้าที่ของสำนักงาน กำหนด ให้มีการบริหารและจัดการอาชีวศึกษาของเอกชน โดยให้อยู่ภายใต้การดูแลของคณะ กรรมการสภาวิทยาลัยชุมชน และในวิทยาลัยชุมชนจะมีคณะกรรมการวิทยาลัยชุมชนดูแล อีกระดับหนึ่ง กำหนดมาตรฐานคุณภาพ และการประเมินผลการอาชีวศึกษา ให้อยู่ในความ ดูแลของคณะกรรมการมาตรฐานการอาชีวศึกษา รวมทั้งกำหนดอำนาจหน้าที่ กำหนดให้มี ระบบคุณวุฒิวิชาชีพ สำหรับผู้มที่ทำงานแล้ว กำหนดหลักเกณฑ์ของการบริหารงานบุคลากร ทางการศึกษา กำหนดการบริหารการเงิน และทรัพยากร โดยกำหนดให้มีกองทุนเพื่อพัฒนา การอาชีวศึกษาและวิทยาลัยชุมชน และการบริหารกองทุนให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้
ผู้เสนอ
๑. นายประชาธิปไตย คำสิงห์นอก
พรรค ชาติพัฒนา
ผู้รับรอง
๑. นายสุชาติ ศรีสังข์ ๒. นายวิสิทธิ์ พิทยาภรณ์
๓. นายศรคม ฦาชา ๔. นายอมรเทพ สมหมาย
๕. นายสมศักดิ์ โสมกลาง ๖. นายสมเจตน์ ลิมปะพันธุ์
๗. นายศราวุธ เพชรพนมพร ๘. นายธวัชชัย อนามพงษ์
๙. นายวุฒิชัย สงวนวงศ์ชัย ๑๐. นายสมศักดิ์ พันธ์เกษม
๑๑. นายสมชัย ฉัตรพัฒนศิริ ๑๒. นายประสิทธิ์ ชัยวิรัตนะ
๑๓. นายพงษ์พิช รุ่งเป้า ๑๔. นางกอบกุล นพอมรบดี
๑๕. นายวิชัย ชัยจิตวณิชกุล ๑๖. นายอิทธิ ศิริลัทธยากร
๑๗. นายสุรพงษ์ อึ้งอัมพรวิไล ๑๘. นายประทีป กรีฑาเวช
๑๙. นายเทวัญ ลิปตพัลลภ ๒๐. ร้อยตรี ประพาส ลิมปะพันธุ์

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๒๘ สิงหาคม ๒๕๔๕
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๒๐๐๕/๒๕๔๕ ลงวันที่ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๔๕
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นางสาวนงทิพา ของสิริวัฒนกุล  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( / ) เป็น        ( ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล การกำหนดให้จัดตั้งสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สำนักพัฒนาครูอาชีวศึกษา และ จัดการและสนับสนุนการจัดการการศึกษา มีผลทำให้รัฐต้องจัดสรรเงินงบประมาณของ แผ่นดินมาดำเนินการ รวมทั้งการกำหนดให้รายได้ ผลประโยชน์ของสถาบันและวิทยาลัย ชุมชน และผลประโยชน์ที่เกิดจากที่ราชพัสดุที่อยู่ในความดูแลของสถาบันและวิทยาลัย ชุมชน ไม่เป็นรายได้ที่ต้องนำส่งกระทรวงการคลังตามกฎหมายว่าด้วยเงินคงคลังและ กฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณมีผลทำให้รัฐขาดรายรับ

กรณีร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินของสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๘๒๑๗ ลงวันที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๔๕
    หนังสือแจ้งจากผู้เสนอ (กรณีคัดค้านร่าง) ที่ ลงวันที่
                 ( ) คัดค้าน    ( ) ไม่คัดค้าน     ( / ) ไม่แจ้งคัดค้านภายใน 7 วัน
    หนังสือส่งให้นายกรัฐมนตรีรับรอง ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๘๕๓๓ ลงวันที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๔๕
    หนังสือแจ้งเหตุขัดข้องจากเลขาธิการนายกฯ ที่ นร ๐๑๑๓/๓๐๒๑๔ ลงวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๔๕
    แจ้งเหตุขัดข้องให้ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรทราบ(กรณีเปิดสมัยประชุม)
    ในการประชุม ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๑๙ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๔๕
    หนังสือนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๐๔๑๐/๑๕๒๔๖ ลงวันที่ ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๔๖
                 ( / ) รับรอง    ( ) ไม่รับรอง
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ลงวันที่

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๓๒ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๔๖
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๒๑ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๒๑ เมษายน ๒๕๔๗
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ
    คะแนนเสียง รับหลักการ ๓๑๖ เสียง ไม่รับหลักการ ๑ เสียง

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน

  พิจารณาร่างพระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง ๒. นายโกวิทย์ ธารณา
๓. นายจิตรนรา นวรัตน์ ๔. รองศาสตราจารย์ชนะ กสิภาร์
๕. นางสาวชรินรัตน์ พุทธปวน ๖. นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ
๗. นายณัฐพล เกียรติวินัยสกุล ๘. นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ
๙. พลตำรวจเอก ดรุณ โสตถิพันธ์ ๑๐. นายตรีพล เจาะจิตต์
๑๑. นายนิสิต สินธุไพร ๑๒. นางบุญรื่น ศรีธเรศ
๑๓. นายประกอบ รัตนพันธ์ ๑๔. นายประชาธิปไตย คำสิงห์นอก
๑๕. นายเปรมศักดิ์ เพียยุระ ๑๖. นางผ่องศรี แซ่จึง
๑๗. นายพงษ์พิช รุ่งเป้า ๑๘. นายพายัพ ปั้นเกตุ
๑๙. นายพิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน ๒๐. นายยุทธศิลป์ ฐาปนะกุล
๒๑. นายระวัง เนตรโพธิ์แก้ว ๒๒. นางลลิตา ฤกษ์สำราญ
๒๓. นางลาวัณย์ ตันติกุลพงศ์ ๒๔. นายวัฒนา เซ่งไพเราะ
๒๕. นายวิจิตร ศรีสอ้าน ๒๖. นายวิทยา ทรงคำ
๒๗. นายวีระศักดิ์ วงษ์สมบัติ ๒๘. นายสถาพร มณีรัตน์
๒๙. นายสนั่น สุธากุล ๓๐. นายสมบูรณ์ อุทัยเวียนกุล
๓๑. นายสานิต ว่องสัธนพงษ์ ๓๒. นายสุธรรม แสงประทุม
๓๓. นายสุพัฒน์ ธรรมเพชร ๓๔. นายสุรนันทน์ เวชชาชีวะ
๓๕. นายโสภณ เพชรสว่าง
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๑๖๘ ลงวันที่ ๒๓ เมษายน ๒๕๔๗
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่ ๒๘ เมษายน ๒๕๔๗
  ใช้ร่างพระราชบัญญัติของ คณะรัฐมนตรี เป็นหลักในการพิจารณา

  ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกัน
  เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๒๐๕๗/๒๕๔๖ ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี (ร่างฯหลัก)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๐๔/๒๕๔๕ ผู้เสนอ นายประกอบ  รัตนพันธ์ (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๒๐๐๕/๒๕๔๕ ผู้เสนอ นายประชาธิปไตย  คำสิงห์นอก (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๒๐๓๗/๒๕๔๖ ผู้เสนอ นายพงษ์พิช  รุ่งเป้า (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๒๐๕๘/๒๕๔๖ ผู้เสนอ นายอำนวย  คลังผา (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๒๐๕๙/๒๕๔๖ ผู้เสนอ นายณัฐวุฒิ  ประเสริฐสุวรรณ (ร่างฯทำนองเดียวกัน)

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๓๐ สิงหาคม ๒๕๔๗
  ผลการพิจารณา ( / ) มีข้อสังเกต        ( ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๓๐๘๙/๒๕๔๗      ลงวันที่ ๓๐ สิงหาคม ๒๕๔๗

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๑๐ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๘ กันยายน ๒๕๔๗
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๑๔ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๔๗
  มติ ( / ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ
  คะแนนเสียง เห็นชอบ 270

กรณีมีข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการ
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๑๔ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๔๗
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับข้อสังเกต     ( ) ไม่เห็นด้วยกับข้อสังเกต
  คะแนนเสียง เห็นชอบ 264  

หนังสือยืนยันไปยังวุฒิสภา ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๑๑๒๘๑ ลงวันที่ ๒๗ กันยายน ๒๕๔๗

การพิจารณาของวุฒิสภา
  เลขทะเบียนรับ (กองกลาง สว.) ๐๐๕๔/๒๕๔๗ ลงวันที่ ๒๗ กันยายน ๒๕๔๗
  เลขทะเบียนรับ (กองการประชุม สว.) ๐๕๖๘/๒๕๔๗ ลงวันที่ ๒๗ กันยายน ๒๕๔๗
  เลขทะเบียนรับ (ฝ่ายญัตติ สว.) ๐๐๓๒/๒๕๔๗ ลงวันที่ ๒๗ กันยายน ๒๕๔๗

การพิจารณาวาระที่ ๑ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( / ) เห็นชอบด้วยกับหลักการ        ( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับหลักการ

ส่งคณะกรรมาธิการ
  ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน คน
  วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกวุฒิสภา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการประกอบด้วย

  หนังสือยืนยันมติ ที่ สว ๐๐๐๘ / ลงวันที่
  กำหนดการแปรญัตติ วัน
  สิ้นสุดวันที่

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่
  ผลการพิจารณา               ( ) มีข้อสังเกต        ( ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังวุฒิสภา ที่ ลงวันที่

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( / ) แก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ

  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๖๗๕๗ (ด่วนที่สุด) ลงวันที่ ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๗

กรณีวุฒิสภาลงมติแก้ไขเพิ่มเติม
สภาผู้แทนราษฎรเห็นว่าเป็นการแก้ไขเพิ่มเติมในสาระสำคัญหรือกรณีอื่น และไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม
  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๖๗๕๗ (ด่วนที่สุด) ลงวันที่ ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๗
  สภาผู้แทนราษฎรรับที่ ๒๔๒/๒๕๔๗ ลงวันที่ ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๗
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๓๒ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๔๗  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๓๒ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๔๗  
  มติ ( ) เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม ( / ) ไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม

  สภาผู้แทนราษฎรกำหนดกรรมาธิการร่วมกันฝ่ายละ ๑๒ คน
  ร่วมกันพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการฝ่ายสภาผู้แทนราษฎรประกอบด้วย
 
๑. ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง ๒. นายจิตรนรา นวรัตน์
๓. นางสาวชรินรัตน์ พุทธปวน ๔. นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ
๕. นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ ๖. นายประกอบ รัตนพันธ์
๗. นายพีรพันธุ์ พาลุสุข ๘. นายยุทธศิลป์ ฐาปนะกุล
๙. นายระวัง เนตรโพธิ์แก้ว ๑๐. นางลลิตา ฤกษ์สำราญ
๑๑. นายวิจิตร ศรีสอ้าน ๑๒. นายวีระศักดิ์ วงศ์สมบัติ

  หนังสือสภาผู้แทนราษฎรแจ้งจำนวนกรรมาธิการร่วมกัน ที่ สผ ๐๐๐๘ / ลงวันที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๔๗
  วุฒิสภารับที่ ลงวันที่

  หนังสือวุฒิสภาแจ้งการตั้งกรรมาธิการร่วมกัน ที่ สว ๐๐๐๘ / ลงวันที่

  คณะกรรมาธิการร่วมกันพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวัน  
  ผลการพิจารณา ( ) มีข้อสังเกต       ( ) ไม่มีข้อสังเกต  
หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการร่วมกันไปยังสภาผู้แทนราษฎร ลงวันที่

ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร
  บรรจุระเบียบวาระ  
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) เห็นชอบ       ( ) ไม่เห็นชอบ  
  หนังสือสภาผู้แทนราษฎรแจ้งกลับไปยังวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๘ / ลงวันที่

ที่ประชุมวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ  
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) เห็นชอบ       ( ) ไม่เห็นชอบ  
  หนังสือแจ้งจากวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๘ / ลงวันที่

ร่างพระราชบัญญัติได้รับความเห็นชอบของรัฐสภา
  หนังสือยืนยันไปยังเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ สผ ๐๐๐๘ / ลงวันที่
  ประกาศราชกิจจานุเบกษา ประเภท ก ฉบับกฤษฎีกา
  เล่มที่ ตอน หน้าที่ วันที่ พุทธศักราช

การพิจารณาของร่างฯ อยู่ระหว่างการพิจารณาของคณะกรรมาธิการร่วมของสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา