สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๑ ปี พ.ศ. ๒๕๔๔

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยนครพนม พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล ให้มีกฎหมายว่าด้วยมหาวิทยาลัยนครพนม โดยที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยกำหนดให้มีกฎหมาย ว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติและปฏิรูปการศึกษาให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม ประกอบกับนโยบายของรัฐบาลให้มีการจัดตั้งมหาวิทยาลัยนครพนม เพื่อให้เป็นไปตามหลักการใช้ ประโยชน์จากทรัพยากร ที่มีอยู่ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดและเอื้อต่อการกระจายโอกาสและการสร้าง ความเสมอภาค การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานอุดมศึกษาให้เป็นที่ยอมรับ มีระบบการเรียนการสอนที่ มีประสิทธิภาพและประหยัด การประสานเชื่อมโยงระหว่างสถาบันอุดมศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชน ทั้งใน และต่างประเทศ สนองต่อความต้องการและเสริมสร้างองค์ความรู้ของชุมชนให้เข้มแข็ง โดยใช้วิธี การหลอมรวมสถาบันอุดมศึกษาที่มีอยู่ในจังหวัดนครพนม เพื่อให้เป็นเมืองมหาวิทยาลัยทั้งที่อยู่ในสังกัด เดียวกันและต่างสังกัด เป็นสถาบันอุดมศึกษาแห่งใหม่ภายใต้ชื่อเดียวกัน จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
ผู้เสนอ
๑. นายประสงค์ บูรณ์พงศ์ ๒. นายอรรถสิทธิ์ (คันคาย) ทรัพยสิทธิ์
๓. นายชวลิต วิชยสุทธิ์ ๔. นายศุภชัย โพธิ์สุ
พรรค ไทยรักไทย
ผู้รับรอง
๑. นายสฤต สันติเมทนีดล ๒. นายปกิต พัฒนกุล
๓. พลตรี ศรชัย มนตริวัต ๔. นายสมศักดิ์ วรคามิน
๕. นายเวียง วรเชษฐ์ ๖. นายวิชิต ปลั่งศรีสกุล
๗. นางสาวอาภาภรณ์ พุทธปวน ๘. นายสามารถ แก้วมีชัย
๙. นายระวัง เนตรโพธิ์แก้ว ๑๐. นายเกรียงไกร ไชยมงคล
๑๑. นายนิมิตร นนทพันธาวาทย์ ๑๒. นายเฉลิมชัย อุฬารกุล
๑๓. นายสงกรานต์ คำพิไสย์ ๑๔. นายสานิต ว่องสัธนพงษ์
๑๕. ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง ๑๖. นายสมบูรณ์ ไพรวัลย์
๑๗. นายวัชรา ณ วังขนาย ๑๘. นายสุรชาติ ชำนาญศิลป์
๑๙. นางบุญรื่น ศรีธเรศ ๒๐. นางมยุรา มนะสิการ

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๔๖
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๑๐๙๘/๒๕๔๖ ลงวันที่ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๔๖
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นางสาววริยา โกสุมภ์สวรรค์  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( / ) เป็น        ( ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล การให้ตั้งมหาวิทยาลัยนครพนมโดยกำหนดให้รายได้ของมหาวิทยาลัยนครพนมไม่ต้องนำส่งกระทรวงการคลัง ตามกฎหมายว่าด้วยเงินคงคลัง และกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ มีผลทำให้รัฐขาดรายรับ ทั้งให้โอนบรรดากิจการ ทรัพย์สิน สิทธิ หนี้สิน เงินงบประมาณและรายได้ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม วิทยาเขตนครพนม ฯลฯ ไปเป็นของมหาวิทยาลัยนครพนม เป็นการโอนงบประมาณรายจ่ายของแผ่นดิน จึงเป็นร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงิน ตามรัฐธรรมนูญฯ มาตรา 169(2)

กรณีร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินของสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๑๒๘๕๒ ลงวันที่ ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๔๖
    หนังสือแจ้งจากผู้เสนอ (กรณีคัดค้านร่าง) ที่ ลงวันที่
                 ( ) คัดค้าน    ( ) ไม่คัดค้าน     ( / ) ไม่แจ้งคัดค้านภายใน 7 วัน
    หนังสือส่งให้นายกรัฐมนตรีรับรอง ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๐๘๘ ลงวันที่ ๘ มกราคม ๒๕๔๗
    หนังสือแจ้งเหตุขัดข้องจากเลขาธิการนายกฯ ที่ นร ลงวันที่
    แจ้งเหตุขัดข้องให้ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรทราบ(กรณีเปิดสมัยประชุม)
    ในการประชุม
    หนังสือนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๐๔๑๐/๖๒๒๕ ลงวันที่ ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๔๗
                 ( / ) รับรอง    ( ) ไม่รับรอง
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ลงวันที่

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๓๔ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๔๗
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๓๔ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๔๗
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน

  วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยนครพนม พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายกระแส ชนะวงศ์
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๒๓๒ ลงวันที่ ๔ มิถุนายน ๒๕๔๗
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่ ๔ มิถุนายน ๒๕๔๗
  ใช้ร่างพระราชบัญญัติของ คณะรัฐมนตรี เป็นหลักในการพิจารณา

  ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกัน
  เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๑๐๓๘/๒๕๔๗ ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี (ร่างฯหลัก)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๑๐๙๘/๒๕๔๖ ผู้เสนอ นายประสงค์  บูรณ์พงศ์ (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๑๐๔๕/๒๕๔๗ ผู้เสนอ นายสนั่น  สุธากุล (ร่างฯทำนองเดียวกัน)

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๔๗
  ผลการพิจารณา ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๒๗๒๔/๒๕๔๗      ลงวันที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๔๗

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๓ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๑๘ สิงหาคม ๒๕๔๗
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๑๒ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๔๗
  มติ ( / ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ

หนังสือยืนยันไปยังวุฒิสภา ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๑๐๙๕๐ ลงวันที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๔๗

การพิจารณาของวุฒิสภา
  เลขทะเบียนรับ (กองกลาง สว.) ๐๐๕๐/๒๕๔๗ ลงวันที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๔๗
  เลขทะเบียนรับ (กองการประชุม สว.) ๐๕๕๔/๒๕๔๗ ลงวันที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๔๗
  เลขทะเบียนรับ (ฝ่ายญัตติ สว.) ๐๐๓๑/๒๕๔๗ ลงวันที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๔๗

การพิจารณาวาระที่ ๑ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( / ) เห็นชอบด้วยกับหลักการ        ( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับหลักการ

ส่งคณะกรรมาธิการ
  ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน คน
  วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกวุฒิสภา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการประกอบด้วย

  หนังสือยืนยันมติ ที่ สว ๐๐๐๘ / ลงวันที่
  กำหนดการแปรญัตติ วัน
  สิ้นสุดวันที่

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่
  ผลการพิจารณา               ( ) มีข้อสังเกต        ( ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังวุฒิสภา ที่ ลงวันที่

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( / ) แก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ

  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๖๖๖๓ (ด่วนที่สุด) ลงวันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๗

กรณีวุฒิสภาลงมติแก้ไขเพิ่มเติม
สภาผู้แทนราษฎรเห็นว่าเป็นการแก้ไขเพิ่มเติมในสาระสำคัญหรือกรณีอื่น และไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม
  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๖๖๖๓ (ด่วนที่สุด) ลงวันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๗
  สภาผู้แทนราษฎรรับที่ ๒๐๖/๒๕๔๗ ลงวันที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๔๗
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๓๒ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๔๗  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๓๒ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๔๗  
  มติ ( ) เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม ( / ) ไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม

  สภาผู้แทนราษฎรกำหนดกรรมาธิการร่วมกันฝ่ายละ ๑๒ คน
  คณะกรรมาธิการร่วมกันเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยนครพนม พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการฝ่ายสภาผู้แทนราษฎรประกอบด้วย
 
๑. นายกระแส ชนะวงศ์ ๒. นายชวลิต วิชยสุทธิ์
๓. นายประสงค์ บูรณ์พงศ์ ๔. นายพีรพันธ์ พาลุสุข
๕. นายไพจิต ศรีวรขาน ๖. รองศาสตราจารย์ภาวิช ทองโรจน์
๗. นายวิจิตร ศรีสอ้าน ๘. นายวิฑูรย์ นามบุตร
๙. นายวิลาศ จันทร์พิทักษ์ ๑๐. นายศุภชัย โพธิ์สุ
๑๑. นายอรรถสิทธิ์ (คันคาย) ทรัพยสิทธิ์ ๑๒. นายอานนท์ เที่ยงตรง

  หนังสือสภาผู้แทนราษฎรแจ้งจำนวนกรรมาธิการร่วมกัน ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๑๔๐๗๓ ลงวันที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๔๗
  วุฒิสภารับที่ ลงวันที่

  หนังสือวุฒิสภาแจ้งการตั้งกรรมาธิการร่วมกัน ที่ สว ๐๐๐๘ / ลงวันที่

  คณะกรรมาธิการร่วมกันพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวัน  
  ผลการพิจารณา ( ) มีข้อสังเกต       ( ) ไม่มีข้อสังเกต  
หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการร่วมกันไปยังสภาผู้แทนราษฎร ลงวันที่

ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร
  บรรจุระเบียบวาระ  
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) เห็นชอบ       ( ) ไม่เห็นชอบ  
  หนังสือสภาผู้แทนราษฎรแจ้งกลับไปยังวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๘ / ลงวันที่

ที่ประชุมวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ  
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) เห็นชอบ       ( ) ไม่เห็นชอบ  
  หนังสือแจ้งจากวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๘ / ลงวันที่

ร่างพระราชบัญญัติได้รับความเห็นชอบของรัฐสภา
  หนังสือยืนยันไปยังเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ สผ ๐๐๐๘ / ลงวันที่
  ประกาศราชกิจจานุเบกษา ประเภท ก ฉบับกฤษฎีกา
  เล่มที่ ตอน หน้าที่ วันที่ พุทธศักราช

การพิจารณาของร่างฯ อยู่ระหว่างการพิจารณาของคณะกรรมาธิการร่วมของสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา