สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๑ ปี พ.ศ. ๒๕๔๔

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลป์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล หลักการ แก้ไขเพิ่มเติมกฎหมาว่าด้วยการประกอบโรคศิลปะดังต่อไปนี้ 1. ยกเลิกบทนิยามคำว่า"กายภาพบำบัด" และ "เทคนิคการแพทย์" 2. ยกเลิกสาขากายภาพบำบัด และสาขาเทคนิคการแพทย์ 3. กำหนดให้ผู้แทนจากสภากายภาพบำบัดและผู้แทนจากสภาเทคนิคการแพทย์ เป็นกรรมการใน คณะกรรมการการประกอบโรคศิลปะ 4. เพิ่มเติมคุณสมบัติของคณะกรรมการการประกอบโรคศิลปะ ในส่วนที่เกี่ยวกับกรรมการซึ่งเป็นผู้แทน จากสภากายภาพบำบัดและสภาเทคนิคการแพทย์ 5. ยกเลิกคณะกรรมการวิชาชีพสาขากายภาพบำบัด และคณะกรรมการวิชาชีพสาขาเทคนิคการแพทย์ เหตุผล สมควรปรับปรุงองค์ประกอบและคุณสมบัติของคณะกรรมการการประกอบโรคศิลปะรวมทั้ง ปรับปรุงบทบัญญัติในส่วนที่เกี่ยวกับสาขาแห่งการประกอบโรคศิลปะ และคณะกรรมการวิชาชีพให้ สอดคล้องกันด้วย จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
ผู้เสนอ
๑. นายวุฒิชัย กิตติธเนศวร ๒. นายนริศร ทองธิราช
พรรค ชาติไทย
ผู้รับรอง
๑. นายนิโรธ สุนทรเลขา ๒. นายชาญศักดิ์ ชวลิตนิติธรรม
๓. นายอิทธิพล คุณปลื้ม ๔. นายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์
๕. นายปิยะ ปิตุเตชะ ๖. พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์
๗. นายสมควร โอบอ้อม ๘. นายชัย ชิดชอบ
๙. พันตำรวจเอก ทิน วงศ์ปลั่ง ๑๐. นายศักดิ์สยาม ชิดชอบ
๑๑. นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ ๑๒. นายสง่า ธนสงวนวงศ์
๑๓. นายกอร์ปศักดิ์ สภาวสุ ๑๔. นายนพดล พลเสน
๑๕. นายกมล จิระพันธุ์วาณิช ๑๖. นางสาวจณิสตา ลิ่วเฉลิมวงศ์
๑๗. นายสิทธิชัย กิตติธเนศวร ๑๘. นางสาวอรดี สุทธศรี
๑๙. นายวุฒิชัย สงวนวงศ์ชัย ๒๐. นายสมศักดิ์ โสมกลาง

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๕ สิงหาคม ๒๕๔๖
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๑๐๖๗/๒๕๔๖ ลงวันที่ ๖ สิงหาคม ๒๕๔๖
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นางสินี ส้มมี  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( ) เป็น        ( / ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล จำต้องแก้ไของค์ประกอบของคณะกรรมการการประกอบโรคศิลปะ และยกเลิกบทนิยาม"กายภาพบำบัด" และ "เทคนิคการแพทย์" เพื่อให้สอดคล้องกับการเสนอกฎหมายดังกล่าว จึงไม่เข้าลักษณะเป็นร่างเกี่ยวด้วยการเงิน

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๕ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๔๖
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๘ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพฤหัสบดีที่ ๒๘ สิงหาคม ๒๕๔๖
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน

  พิจารณาร่างพระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายกิตติ สมทรัพย์ ๒. นายเกษม อุประ
๓. นางคมคาย พลบุตร ๔. นายชยุตม์ วิชชุประภา
๕. นางสาวชรินรัตน์ พุทธปวน ๖. นายชัชวาลย์ สุวิชาเชิดชู
๗. นายไชยวัฒน์ ไตรยสุนันท์ ๘. นายณรงค์ศักดิ์ อังคะสุวผลา
๙. นายต่อพงษ์ ไชยสาส์น ๑๐. นายทวีศักดิ์ อนรรฆพันธ์
๑๑. นายธนนน วรรณวิมลรักษ์ ๑๒. นายธเนศ เครือรัตน์
๑๓. นายธเรศ กรัษนัยรวิวงค์ ๑๔. นายธวัช สุรินทร์คำ
๑๕. นางนิภา พริ้งศุลกะ ๑๖. นายประจวบ อึ๊งภากรณ์
๑๗. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประโยชน์ บุญสินสุข ๑๘. นายประเวศ อรรถศุภผล
๑๙. นายประสงค์ บูรณ์พงศ์ ๒๐. นายปรีชา มุสิกุล
๒๑. นายพิทยา บุญเฉลียว ๒๒. นายภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ
๒๓. นายยงยศ อดิเรกสาร ๒๔. นางสาวรังสิมา รอดรัศมี
๒๕. นายวิชัย ชัยจิตวณิชกุล ๒๖. นายวิชาญ มีนชัยนันท์
๒๗. นายวินัย วิริยกิจจา ๒๘. นายวิลาศ จันทร์พิทักษ์
๒๙. นายศุภชัย ใจสมุทร ๓๐. ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมชาย วิริยะยุทธกร
๓๑. นายสมชาย สหชัยรุ่งเรือง ๓๒. นายสัญชัย วงษ์สุนทร
๓๓. นายสุรนันทน์ เวชชาชีวะ ๓๔. นายอุดมเดช รัตนเสถียร
๓๕. นายอุทัย สุดสุข
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๔๔๑ ลงวันที่ ๑ กันยายน ๒๕๔๖
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่ ๔ กันยายน ๒๕๔๖
  ใช้ร่างพระราชบัญญัติของ คณะรัฐมนตรี เป็นหลักในการพิจารณา

  ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกัน
  เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๑๐๖๐/๒๕๔๖ ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี (ร่างฯหลัก)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๑๐๖๗/๒๕๔๖ ผู้เสนอ นายวุฒิชัย  กิตติธเนศวร (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๑๐๗๐/๒๕๔๖ ผู้เสนอ นายประสิทธิ์  ชัยวิรัตนะ (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๑๐๗๖/๒๕๔๖ ผู้เสนอ นายปรีชา  มุสิกุล (ร่างฯทำนองเดียวกัน)

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๑๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๗
  ผลการพิจารณา ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๕๕๖/๒๕๔๗      ลงวันที่ ๑๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๗

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๑๑ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๔๗
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๑๗ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๔๗
  มติ ( / ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ

หนังสือยืนยันไปยังวุฒิสภา ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๓๘๑๗ ลงวันที่ ๒ เมษายน ๒๕๔๗

การพิจารณาของวุฒิสภา
  เลขทะเบียนรับ (กองกลาง สว.) ๐๐๑๒/๒๕๔๗ ลงวันที่ ๒ เมษายน ๒๕๔๗
  เลขทะเบียนรับ (กองการประชุม สว.) ๐๒๐๘/๒๕๔๗ ลงวันที่ ๒ เมษายน ๒๕๔๗
  เลขทะเบียนรับ (ฝ่ายญัตติ สว.) ๐๐๑๑/๒๕๔๗ ลงวันที่ ๒ เมษายน ๒๕๔๗

การพิจารณาวาระที่ ๑ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( / ) เห็นชอบด้วยกับหลักการ        ( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับหลักการ

ส่งคณะกรรมาธิการ
  ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน คน
  วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกวุฒิสภา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการประกอบด้วย

  หนังสือยืนยันมติ ที่ สว ๐๐๐๘ / ลงวันที่
  กำหนดการแปรญัตติ วัน
  สิ้นสุดวันที่

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่
  ผลการพิจารณา               ( ) มีข้อสังเกต        ( ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังวุฒิสภา ที่ ลงวันที่

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( / ) แก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ

  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๒๘๗๓ (ด่วนที่สุด) ลงวันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๔๗

กรณีวุฒิสภาลงมติแก้ไขเพิ่มเติม
สภาผู้แทนราษฏรเห็นว่ามิได้เป็นการแแก้ไขเพิ่มเติมในสาระสำคัญ และเห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม
  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๒๘๗๓ (ด่วนที่สุด) ลงวันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๔๗
  สภาผู้แทนราษฎรรับที่ ๗๖/๒๕๔๗ ลงวันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๔๗
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๑ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๔ สิงหาคม ๒๕๔๗  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๕ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๕ สิงหาคม ๒๕๔๗  
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม ( ) ไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม

สถานภาพของร่างฯ เห็นชอบประกาศใช้เป็นกฎหมาย