สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๑ ปี พ.ศ. ๒๕๔๔

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติวิชาชีพเทคนิคการแพทย์ พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล หลักการ ให้มีกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพเทคนิคการแพทย์ เหตุผล ในปัจจุบันเทคโนโลยีทางด้านเทคนิคการแพทย์ได้เจริญก้าวหน้าขึ้นและจำนวน ผู้ประกอบโรคศิลปะในสาขานี้ก็มีมากขึ้น จึงสมควรแยกการกำกับดูแลการประกอบวิชาชีพ เทคนิคการแพทย์ออกจากอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการประกอบโรคศิลปะ และคณะกรรมการวิชาชีพสาขาเทคนิคการแพทย์ โดยจัดตั้งสภาเทคนิคการแพทย์ขึ้นเพื่อ ส่งเสริมและควบคุมมาตรฐานการประกอบวิชาชีพสาขานี้
ผู้เสนอ
๑. นายวุฒิชัย กิตติธเนศวร ๒. นายนริศร ทองธิราช
พรรค ชาติไทย
ผู้รับรอง
๑. นายนิโรธ สุนทรเลขา ๒. นายชาญศักดิ์ ชวลิตนิติธรรม
๓. นายอิทธิพล คุณปลื้ม ๔. นายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์
๕. นายปิยะ ปิตุเตชะ ๖. พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์
๗. นายสมควร โอบอ้อม ๘. นายชัย ชิดชอบ
๙. พันตำรวจเอก ทิน วงศ์ปลั่ง ๑๐. นายศักดิ์สยาม ชิดชอบ
๑๑. นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ ๑๒. นายสง่า ธนสงวนวงศ์
๑๓. นายกอบศักดิ์ ชุติกุล ๑๔. นายนพดล พลเสน
๑๕. นายกมล จิระพันธุ์วาณิช ๑๖. นางสาวจณิสตา ลิ่วเฉลิมวงศ์
๑๗. นายสิทธิชัย กิตติธเนศวร ๑๘. นางสาวอรดี สุทธศรี
๑๙. นายวุฒิชัย สงวนวงศ์ชัย ๒๐. นายสมชัย ฉัตรพัฒนศิริ

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๕ สิงหาคม ๒๕๔๖
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๑๐๖๖/๒๕๔๖ ลงวันที่ ๖ สิงหาคม ๒๕๔๖
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นางสินี ส้มมี  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( / ) เป็น        ( ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล รัฐต้องจัดสรรงบประมาณแผ่นดินมาดำเนินการ

กรณีร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินของสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ลงวันที่
    หนังสือแจ้งจากผู้เสนอ (กรณีคัดค้านร่าง) ที่ ลงวันที่
                 ( ) คัดค้าน    ( / ) ไม่คัดค้าน     ( ) ไม่แจ้งคัดค้านภายใน 7 วัน
    หนังสือส่งให้นายกรัฐมนตรีรับรอง ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๗๘๑๐ ลงวันที่ ๘ สิงหาคม ๒๕๔๖
    หนังสือแจ้งเหตุขัดข้องจากเลขาธิการนายกฯ ที่ นร ลงวันที่
    หนังสือนายกรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่
                 ( / ) รับรอง    ( ) ไม่รับรอง
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ลงวันที่

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๕ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๔๖
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๘ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพฤหัสบดีที่ ๒๘ สิงหาคม ๒๕๔๖
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน

  พิจารณาร่างพระราชบัญญัติวิชาชีพเทคนิคการแพทย์ พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายกล่ำคาน ปาทาน ๒. นายจำรัส เวียงสงค์
๓. นางสาวชรินรัตน์ พุทธปวน ๔. นายชัชวาลย์ ธนะปุระ
๕. นายไชยวัฒน์ ไตรยสุนันท์ ๖. นายณกฤตพล ชื่นเชย
๗. นายณรงค์ศักดิ์ อังคสุวผลา ๘. นายณัฐพล เกียรติวินัยสกุล
๙. นายต่อพงษ์ ไชยสาส์น ๑๐. นายทวีศักดิ์ อนรรฆพันธ์
๑๑. นายธราพงษ์ สีลาวงษ์ ๑๒. นายธเรศ กรัษนัยรวิวงค์
๑๓. นายธวัช สุรินทร์คำ ๑๔. นางนิภา พริ้งศุลกะ
๑๕. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประโยชน์ บุญสินสุข ๑๖. นายประเวศ อรรถศุภผล
๑๗. นายปรีชา มุสิกุล ๑๘. นายพงษ์ศักดิ์ วรปัญญา
๑๙. นางพรพิชญ์ พัฒนกุลเลิศ ๒๐. นายภัทรศักดิ์ โอสถานุเคราะห์
๒๑. นายภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ ๒๒. นางสาวรังสิมา รอดรัศมี
๒๓. นายวรรณรัตน์ ชาญนุกูล ๒๔. นายวินัย วิริยกิจจา
๒๕. นายวิลาศ จันทร์พิทักษ์ ๒๖. นายศราวุธ เพชรพนมพร
๒๗. นายสงกรานต์ คำพิไสย์ ๒๘. นายสนั่น ทองปาน
๒๙. ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมชาย วิริยะยุทธกร ๓๐. นายสมชาย สหชัยรุ่งเรือง
๓๑. นายสมาน เลิศวงศ์รัตน์ ๓๒. นายสัญชัย วงษ์สุนทร
๓๓. นายสุวัฒน์ วรรณศิริกุล ๓๔. นายอรรถสิทธิ์ กาญจนสินิทธ์
๓๕. นายอุทัย สุดสุข
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๔๓๙ ลงวันที่ ๑ กันยายน ๒๕๔๖
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่ ๔ กันยายน ๒๕๔๖
  ใช้ร่างพระราชบัญญัติของ คณะรัฐมนตรี เป็นหลักในการพิจารณา

  ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกัน
  เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๑๐๕๘/๒๕๔๖ ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี (ร่างฯหลัก)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๑๐๖๖/๒๕๔๖ ผู้เสนอ นายวุฒิชัย  กิตติธเนศวร (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๑๐๖๘/๒๕๔๖ ผู้เสนอ นายประสิทธิ์  ชัยวิรัตนะ (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๑๐๗๘/๒๕๔๖ ผู้เสนอ นายปรีชา  มุสิกุล (ร่างฯทำนองเดียวกัน)

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๗
  ผลการพิจารณา ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๗๓๐/๒๕๔๗      ลงวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๗

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๑๑ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๔๗
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๑๗ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๔๗
  มติ ( / ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ

หนังสือยืนยันไปยังวุฒิสภา ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๓๘๑๗ ลงวันที่ ๒ เมษายน ๒๕๔๗

การพิจารณาของวุฒิสภา
  เลขทะเบียนรับ (กองกลาง สว.) ๐๐๑๐/๒๕๔๗ ลงวันที่ ๒ เมษายน ๒๕๔๗
  เลขทะเบียนรับ (กองการประชุม สว.) ๐๒๐๖/๒๕๔๗ ลงวันที่ ๒ เมษายน ๒๕๔๗
  เลขทะเบียนรับ (ฝ่ายญัตติ สว.) ๖-๑๓/๒๕๔๗ ลงวันที่ ๒ เมษายน ๒๕๔๗

การพิจารณาวาระที่ ๑ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( / ) เห็นชอบด้วยกับหลักการ        ( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับหลักการ

ส่งคณะกรรมาธิการ
  ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน คน
  วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกวุฒิสภา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการประกอบด้วย

  หนังสือยืนยันมติ ที่ สว ๐๐๐๘ / ลงวันที่
  กำหนดการแปรญัตติ วัน
  สิ้นสุดวันที่

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่
  ผลการพิจารณา               ( ) มีข้อสังเกต        ( ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังวุฒิสภา ที่ ลงวันที่

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( / ) แก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ

  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๒๘๗๓ (ด่วนที่สุด) ลงวันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๔๗

กรณีวุฒิสภาลงมติแก้ไขเพิ่มเติม
สภาผู้แทนราษฏรเห็นว่ามิได้เป็นการแแก้ไขเพิ่มเติมในสาระสำคัญ และเห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม
  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๒๘๗๓ (ด่วนที่สุด) ลงวันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๔๗
  สภาผู้แทนราษฎรรับที่ ๗๒๒๗/๒๕๔๗ ลงวันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๔๗
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๑ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๔ สิงหาคม ๒๕๔๗  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๕ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพฤหัสบดีที่ ๕ สิงหาคม ๒๕๔๗  
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม ( ) ไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม

สถานภาพของร่างฯ เห็นชอบประกาศใช้เป็นกฎหมาย