สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๑ ปี พ.ศ. ๒๕๔๔

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหาสารคาม พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล แนวนโยบายของรัฐได้มีการส่งเสริมให้มหาวิทยาลัยของรัฐที่เป็นส่วนราชการพัฒนาไปสู่การเป็นมหาวิทยาลัยของรัฐที่ไม่เป็นส่วนราชการแต่อยู่ในกำกับของรัฐ เพื่อประโยชน์ในการบริหารจัดการที่เป็นอิสระและมีความคล่องตัว สามารถจัดการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยการจัดการศึกษาต้องคำนึงถึงความเป็นอิสระและเป็นเลิศทางวิชาการ สมควรปรับปรุงการบริหารมหาวิทยาลัยให้เป็นไปในแนวทางดังกล่าว จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี
เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ๐๕๐๓/๑๑๒๑๓ ลงวันที่ ๑๐ สิงหาคม ๒๕๔๗
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๑๐๕๗/๒๕๔๗ ลงวันที่ ๑๐ สิงหาคม ๒๕๔๗
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นางสาวพัชรา ลภาสวัสดิ์นันท์  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( / ) เป็น        ( ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล มีลักษณะเป็นการโอนงบประมาณและเป็นการกู้เงินเพื่อใช้เงินกู้

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๓ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๑๘ สิงหาคม ๒๕๔๗
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๒๒ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๔๗
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน

  พิจารณาร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายกริช กงเพชร ๒. ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง
๓. นางกุสุมาลวตี ศิริโกมุท ๔. นายขจร จิตสุขุมมงคล
๕. นายชูศักดิ์ ศิรินิล ๖. นายประยุทธ์ ศิริพานิชย์
๗. นายปรีชา สุวรรณทัต ๘. นางผ่องศรี แซ่จึง
๙. นายพิชาญ พิบูลย์วัฒนวงษ์ ๑๐. นายพีรพันธุ์ พาลุสุข
๑๑. นายพีระเพชร ศิริกุล ๑๒. รองศาสตราจารย์ภาวิช ทองโรจน์
๑๓. นายยุทธพงศ์ จรัสเสถียร ๑๔. นางสาวยุวดี ตปนียากร
๑๕. นายระวัง เนตรโพธิ์แก้ว ๑๖. นายรังสรรค์ กระจ่างตา
๑๗. พลเอก รัตนะ เฉลิมแสนยากร ๑๘. นางลลิตา ฤกษ์สำราญ
๑๙. นายลิขิต ธีรเวคิน ๒๐. นายวรรณรัตน์ ชาญนุกูล
๒๑. นายวิจิตร ศรีสอ้าน ๒๒. นายวิฑูรย์ นามบุตร
๒๓. นายวิทยา ภูมิเหล่าแจ้ง ๒๔. พันเอก วินัย สมพงษ์
๒๕. นางวิไลวรรณ อัศวเศรณี ๒๖. นายศุภชัย ศรีหล้า
๒๗. นายสงกรานต์ คำพิไสย์ ๒๘. นายสฤต สันติเมทนีดล
๒๙. นายสานิต ว่องสัธนพงษ์ ๓๐. ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุทธิพงศ์ หกสุวรรณ
๓๑. นายสุทิน คลังแสง ๓๒. นายสุรชัย เบ้าจรรยา
๓๓. นายสุรศักดิ์ นาคดี ๓๔. นายอำนวย ปะติเส
๓๕. นายเอกพร รักความสุข
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๔๓๖ ลงวันที่ ๒๒ ตุลาคม ๒๕๔๗
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๔๗
  ใช้ร่างพระราชบัญญัติของ คณะรัฐมนตรี เป็นหลักในการพิจารณา

  ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกัน
  เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๑๐๕๗/๒๕๔๗ ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี (ร่างฯหลัก)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๑๐๕๓/๒๕๔๗ ผู้เสนอ นางผ่องศรี  แซ่จึง (ร่างฯทำนองเดียวกัน)

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๗
  ผลการพิจารณา ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๕๘๕๑/๒๕๔๗      ลงวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๗

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๓๐ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๔๗
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๓๐ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๔๗
  มติ ( / ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ

หนังสือยืนยันไปยังวุฒิสภา ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๑๓๖๑๒ ลงวันที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๔๗

การพิจารณาของร่างฯ อยู่ระหว่างการดำเนินการของเจ้าหน้าที่ (วุฒิสภา)