สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๑ ปี พ.ศ. ๒๕๔๔

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ภาค 1 ลักษณะ 5 ว่าด้วยพยานหลักฐาน ในเรื่องเกี่ยวกับการมาศาลของพยาน การนำสืบและการรับฟังพยาน ให้ทันสมัยและสอดคล้องกับสภาวการณ์ทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศในปัจจุบัน จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
ผู้เสนอ
๑. พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์ ๒. นายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์
พรรค ชาติไทย
ผู้รับรอง
๑. นายสง่า ธนสงวนวงศ์ ๒. นายนิโรธ สุนทรเลขา
๓. นายนพดล พลเสน ๔. นายจองชัย เที่ยงธรรม
๕. นายวุฒิชัย กิตติธเนศวร ๖. นางผ่องศรี แซ่จึง
๗. นายกมล จิระพันธุ์วาณิช ๘. นายนริศร ทองธิราช
๙. นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ ๑๐. นายสมควร โอบอ้อม
๑๑. นางสาวกัญจนา ศิลปอาชา ๑๒. นายชาญศักดิ์ ชวลิตนิติธรรม
๑๓. ม.ร.ว.เกษมสโมสร เกษมศรี ๑๔. นายถวิล ฤกษ์หร่าย
๑๕. นายประทวน เขียวฤทธิ์ ๑๖. นายสฤษฏ์ อึ้งอภินันท์
๑๗. นายเทวฤทธิ์ นิกรเทศ ๑๘. นายรณฤทธิชัย คานเขต
๑๙. นายธีรโชต กองทอง ๒๐. นายประสิทธิ์ ตั้งศรีเกียรติกุล

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๔ พฤษภาคม ๒๕๔๗
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๑๐๓๕/๒๕๔๗ ลงวันที่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๔๗
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นางสาววริยา โกสุมภ์สวรรค์  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( ) เป็น        ( / ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ในเรื่องเกี่ยวกับการมาศาลของพยาน หลักเกณฑ์การนำสืบพยาน และการรับฟังพยานหลักฐาน เพื่อให้มีความชัดเจน รวดเร็ว เหมาะสมกับสภาพสังคมและการพัฒนาด้านเทคโนโลยี อันไม่ส่งผลกระทบต่องบประมาณรายจ่ายของแผ่นดิน จึงไม่เข้าลักษณะเป็นร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงิน ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 169

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๑ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๔ สิงหาคม ๒๕๔๗
    ที่ประชุมพิจารณา
    มติ ( ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

การพิจารณาของร่างฯ รอการพิจารณาในวาระที่ ๑ (สภาผู้แทนราษฎร)