สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๑ ปี พ.ศ. ๒๕๔๔

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล กำหนดให้ศาลจังหวัดที่มีเขตอำนาจเหนืออำเภอที่เป็นที่ตั้งของศาลากลางจังหวัดมีอำนาจพิจารณาคดีอาญาที่เด็กหรือเยาวชนกระทำความผิดที่เกิดในเขตจังหวัดนั้น ให้นำวิธีพิจารณาคดีอาญาตาม พรบ. จัดตั้งศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๓๔ มาใช้บังคับ และให้เปิด ทำการศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัด จัดตั้งสถานพินิจ ให้มีอำนาจครอบคลุมทุกจังหวัดภายในสามปี
ผู้เสนอ
๑. พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์ ๒. นายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์
พรรค ชาติไทย
ผู้รับรอง
๑. นายสง่า ธนสงวนวงศ์ ๒. นายนิโรธ สุนทรเลขา
๓. นายนพดล พลเสน ๔. นายจองชัย เที่ยงธรรม
๕. นายวุฒิชัย กิตติธเนศวร ๖. นางผ่องศรี แซ่จึง
๗. นายกมล จิระพันธุ์วาณิช ๘. นายนริศร ทองธิราช
๙. นายสมควร โอบอ้อม ๑๐. นายชาญศักดิ์ ชวลิตนิติธรรม
๑๑. นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ ๑๒. นางสาวกัญจนา ศิลปอาชา
๑๓. ม.ร.ว.เกษมสโมสร เกษมศรี ๑๔. นายถวิล ฤกษ์หร่าย
๑๕. นายประทวน เขียวฤทธิ์ ๑๖. นายสฤษฏ์ อึ้งอภินันท์
๑๗. นายเทวฤทธิ์ นิกรเทศ ๑๘. นายรณฤทธิชัย คานเขต
๑๙. นายธีรโชต กองทอง ๒๐. นายประสิทธิ์ ตั้งศรีเกียรติกุล

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๔ พฤษภาคม ๒๕๔๗
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๑๐๓๓/๒๕๔๗ ลงวันที่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๔๗
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นายวิมล กสิบุตร  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( / ) เป็น        ( ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล การกำหนดให้เปิดทำการศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดหรือแผนกคดีเยาวชนและครอบครัวในศาลจังหวัดและจัดตั้งสถานพินิจจังหวัด กำหนดวิธีพิจารณาคดีเด็กหรือเยาวชนใหม่ มีผลทำให้รัฐต้องจัดสรรงบประมาณมาดำเนินการ จึงเป็นร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงิน ตามรัฐะรรมนูญฯ มาตรา ๑๖๙ (๒)

กรณีร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินของสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๖๗๕ ลงวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๔๗
    หนังสือแจ้งจากผู้เสนอ (กรณีคัดค้านร่าง) ที่ ลงวันที่
                 ( ) คัดค้าน    ( / ) ไม่คัดค้าน     ( ) ไม่แจ้งคัดค้านภายใน 7 วัน
    หนังสือส่งให้นายกรัฐมนตรีรับรอง ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๖๗๙๓ ลงวันที่ ๑๐ มิถุนายน ๓๕๔๗
    หนังสือแจ้งเหตุขัดข้องจากเลขาธิการนายกฯ ที่ นร ลงวันที่
    หนังสือนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๐๔๑๐/๑๑๓๙๗ ลงวันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๔๗
                 ( / ) รับรอง    ( ) ไม่รับรอง
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ลงวันที่

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๑๐ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๘ กันยายน ๒๕๔๗
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๑๐ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๘ กันยายน ๒๕๔๗ ถึง วันพุธที่ ๘ กันยายน ๒๕๔๗
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน

  วิสามัญพิจาสรณาร่างพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว (ฉบับที่ .. ) พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายกลำคาน ปาทาน ๒. ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง
๓. นายเกษม สรศักดิ์เกษม ๔. นายเกื้อ แก้วเกต
๕. นายโกวิทย์ ธรรมานุชิต ๖. นายจรัญ ภักดีธนากุล
๗. นางสาวจรูญ เขียวดอกไม้ ๘. นายจำนงค์ โพธิสาโร
๙. นายจำรัส เวียงสงค์ ๑๐. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ทิพย์วัลย์ สมุทรักษ์
๑๑. ว่าที่ร้อยตรีธนู จงเพิ่มดำรงชัย ๑๒. นายนคร มาฉิม
๑๓. นายนพคุณ รัฐผไท ๑๔. นางนิภา พริ้งศุลกะ
๑๕. นางผุสดี ตามไท ๑๖. นายพงษ์ภัฏ เรียงเครือ
๑๗. นายพร พันธุ์โอสถ ๑๘. นางพิมลรัตน์ วรรธนะหทัย
๑๙. นางมยุรา มนะสิการ ๒๐. นางยุวดี นิ่มสมบุญ
๒๑. นางรัชนี ธงไชย ๒๒. นายเรืองศักดิ์ ปิ่นประทีป
๒๓. นายวันชัย รุจนวงศ์ ๒๔. นางสาววัลภา เล็กวัฒนานนท์
๒๕. นางสาววาสนา เก้านพรัตน์ ๒๖. นายวิชิต ปลั่งศรีสกุล
๒๗. นายวิสิทธิ์ พิทยาภรณ์ ๒๘. นายศรีศักดิ์ ไทยอารัย์
๒๙. พันตำรวจโท สมชาย เพศประเสริฐ ๓๐. นายสมบูรณ์ ปึงสุวรรณ
๓๑. นายสมพร เทพสิทธา ๓๒. นายสิทธิศักดิ์ วนะชกิจ
๓๓. นายอัครวัฒน์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา ๓๔. นายอารักษ์ ไชยริปู
๓๕. นายอารีเพ็ญ อุตรสินธุ์
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๓๖๕ ลงวันที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๔๗
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๔๗
  ใช้ร่างพระราชบัญญัติของ คณะรัฐมนตรี เป็นหลักในการพิจารณา

  ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกัน
  เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๑๐๖๒/๒๕๔๗ ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี (ร่างฯหลัก)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๑๐๒๔/๒๕๔๖ ผู้เสนอ นายวิชิต  ปลั่งศรีสกุล (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๑๐๓๓/๒๕๔๗ ผู้เสนอ พลตำรวจโท วิโรจน์  เปาอินทร์ (ร่างฯทำนองเดียวกัน)

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๔๗
  ผลการพิจารณา ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๔๘๐๑/๒๕๔๗      ลงวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๔๗

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๒๐ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๔๗
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๒๒ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๔๗ ถึง วันพุธที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๔๗
  มติ ( / ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ

หนังสือยืนยันไปยังวุฒิสภา ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๑๒๔๑๔ ลงวันที่ ๒๖ ตุลาคม ๒๕๔๗

การพิจารณาของวุฒิสภา
  เลขทะเบียนรับ (กองกลาง สว.) ๐๐๖๗/๒๕๔๗ ลงวันที่ ๒๖ ตุลาคม ๒๕๔๗
  เลขทะเบียนรับ (กองการประชุม สว.) ๐๖๖๘/๒๕๔๗ ลงวันที่ ๒๖ ตุลาคม ๒๕๔๗
  เลขทะเบียนรับ (ฝ่ายญัตติ สว.) ๐๐๔๕/๒๕๔๗ ลงวันที่ ๒๖ ตุลาคม ๒๕๔๗

การพิจารณาวาระที่ ๑ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( / ) เห็นชอบด้วยกับหลักการ        ( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับหลักการ

ส่งคณะกรรมาธิการ
  ( / ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน คน
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สว ๐๐๐๘ / ลงวันที่
  กำหนดการแปรญัตติ วัน
  สิ้นสุดวันที่

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่
  ผลการพิจารณา               ( ) มีข้อสังเกต        ( ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังวุฒิสภา ที่ ลงวันที่

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( / ) เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) แก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ

  หนังสือยืนยันไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๖๒๙๐ (ด่วนที่สุด) ลงวันที่ ๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๗

กรณีวุฒิสภาเห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
  หนังสือยืนยันไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๖๒๙๐ (ด่วนที่สุด) ลงวันที่ ๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๗
  สภาผู้แทนราษฎรรับที่ ๑๕๖๒๓/๒๕๔๗ ลงวันที่ ๘ พฤศจิกายน ๒๕๔๗
  แจ้งที่ประชุมทราบ :vmehp
  หนังสือยืนยันไปยังเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๑๓๓๗๙ ลงวันที่ ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๔๗
  ประกาศราชกิจจานุเบกษา ประเภท ก ฉบับกฤษฎีกา
  เล่มที่ ๑๒๒ ตอน ๑๖ก หน้าที่ - วันที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๘ พุทธศักราช ๒๕๔๘

สถานภาพของร่างฯ เห็นชอบประกาศใช้เป็นกฎหมาย