สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๑ ปี พ.ศ. ๒๕๔๔

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลล้มละลายและวิธีพิจารณาคดีล้มละลาย (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล หลักการ 1.กำหนดให้ศาลล้มละลายมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาตามกฏหมาย ล้มละลาย และให้นำประมวลกฏหมายวิธีพิจารณาความอาญาและพระราชบัญญัติจัดตั้งศาล แขวงและวิธีพิจารณาคดีอาญาในศาลแขวงมาใช้บังคับแก่การพิจารณาพิพากษาคดีดังกล่าว โดยอนุโลม 2.กำหนดให้ประธานศาลฎีกาเป็นผู้รักษาการตามกฎหมาย และให้คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมกำหนนดจำนวนรองอธิบดีผู้พิพากษาศาลล้มละลาย 3.เพิ่มเติม หลักเกณฑ์การออกข้อกำหนดเกี่วบกับการดำเนินกระบวนพิจารณาและการรับฟังพยานหลักฐานในส่วนของคดีอาญา 4.กำหนดหลักเกณฑ์การอุทธรณ์คำพพากษา และการพิจารณาคดีในศาลฎีกา เหตุผล เพื่อให้ศาลล้มละลายมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาที่เกี่ยวกับกฎหมาย ล้มละลาย
ผู้เสนอ
๑. นายวิชิต ปลั่งศรีสกุล ๒. นายสุพจน์ ฤชุพันธุ์
๓. นายสามารถ แก้วมีชัย
พรรค ไทยรักไทย
ผู้รับรอง
๑. นายจินดา วงศ์สวัสดิ์ ๒. พันตำรวจเอก ปรีดี เจริญศิลป์
๓. นายยุทธศิลป์ ฐาปนะกุล ๔. นายยงยศ อดิเรกสาร
๕. นายนพคุณ รัฐผไท ๖. นายสุรนันทน์ เวชชาชีวะ
๗. นายพฤฒิชัย ดำรงรัตน์ ๘. นายวิทยา ทรงคำ
๙. นายสมบูรณ์ ไพรวัลย์ ๑๐. นายวิฑูรย์ วงษ์ไกร
๑๑. ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง ๑๒. นายพรศักดิ์ เจริญประเสริฐ
๑๓. นายอดิศักดิ์ โภคกุลกานนท์ ๑๔. นายชาตรี พิริยะกิจไพบูลย์
๑๕. นายทองดี มนิสสาร ๑๖. นายปกิต พัฒนกุล
๑๗. นายบุญพันธ์ แขวัฒนะ ๑๘. พลเอก เชษฐา ฐานะจาโร
๑๙. นายชาญชัย ปทุมารักษ์ ๒๐. พลเอก รัตนะ เฉลิมแสนยากร

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๔๖
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๑๐๒๒/๒๕๔๖ ลงวันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๔๖
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นางสินี ส้มมี  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( ) เป็น        ( / ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล ให้ศาลล้มละลายสามารถพิจารณาพิพากษาและพิพากษาคดีอาญาที่เกี่ยวกับกฎหมายล้มละลายได้ และให้มีวิธีพิจารณาพิเศษที่เหมาะสม

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๑๕ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๖
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๙ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๓ มีนาคม ๒๕๔๗
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน คน

  พิจารณาร่างพระราชบัญญัตจัดตั้งศาลล้มละลายและวิธีพิจารณาคดีล้มละลาย (ฉบับที่..) พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายเกษม สรศักดิ์เกษม ๒. นายไกรสร บารมีอวยชัย
๓. นายเจริญ จรรย์โกมล ๔. นายชัย ชิดชอบ
๕. นายชาญณรงค์ ปราณีจิตต์ ๖. นายไชยวัฒน์ ไตรยสุนันท์
๗. นายเทิดภูมิ ใจดี ๘. นายธนนน วรรณวิมลรักษ์
๙. ว่าที่ร้อยตรีธนู จงเพิ่มดำรงชัย ๑๐. นายนพคุณ รัฐผไท
๑๑. นายประชาธิปไตย คำสิงห์นอก ๑๒. นายประสงค์ บูรณ์พงศ์
๑๓. นายปัญญา จีนาคำ ๑๔. นายพรชัย อัศววัฒนาพร
๑๕. นายพร้อม พรหมพันธุ์ ๑๖. นายพิชัย นิลทองคำ
๑๗. นายพินิจ จันทร์สมบูรณ์ ๑๘. นายพินิจ จันทรสุรินทร์
๑๙. นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค ๒๐. นางสาวเพชรี ศิริวัฒโก
๒๑. นายรุ่งเรือง พิทยศิริ ๒๒. นายเรวัต แสงวิจิตร
๒๓. นางลาวัณย์ ตันติกุลพงศ์ ๒๔. นายวรรณชัย บุญบำรุง
๒๕. นายวิชาญ มีนชัยนันท์ ๒๖. นายวิชิต ปลั่งศรีสกุล
๒๗. นายวินัย เสนเนียม ๒๘. นายวิศิษฏ์ วิศิษฏ์สรอรรถ
๒๙. นายสัมพันธ์ แป้นพัฒน์ ๓๐. นายสัมพันธ์ เลิศนุวัฒน์
๓๑. นายสิทธิรัตน์ รัตนวิจารณ์ ๓๒. นายสุทัศน์ เงินหมื่น
๓๓. นายสุวิทย์ บูรณ์เจริญ ๓๔. นายอริสมันต์ พงศ์เรืองรอง
๓๕. นายอานนท์ สิงห์สมบุญ
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๙๔ ลงวันที่ ๔ มีนาคม ๒๕๔๗
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๔๗
  ใช้ร่างพระราชบัญญัติของ คณะรัฐมนตรี เป็นหลักในการพิจารณา

  ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกัน
  เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๑๐๑๐/๒๕๔๗ ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี (ร่างฯหลัก)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๑๐๒๒/๒๕๔๖ ผู้เสนอ นายวิชิต  ปลั่งศรีสกุล (ร่างฯทำนองเดียวกัน)

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๔๗
  ผลการพิจารณา ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๕๒๕๕/๒๕๔๗      ลงวันที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๔๗

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๑๖ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๔๗
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๒๒ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๔๗
  มติ ( / ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ

หนังสือยืนยันไปยังวุฒิสภา ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๑๒๔๑๓ ลงวันที่ ๒๖ ตุลาคม ๒๕๔๗

การพิจารณาของร่างฯ อยู่ระหว่างการดำเนินการของเจ้าหน้าที่ (วุฒิสภา)