สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๑ ปี พ.ศ. ๒๕๔๔

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษ พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล ให้มีกฎหมายว่าด้วยการสอบสวนคดีพิเศษ ตามี่ทได้มีการปรับปรุงอำนาจหน้าที่กระทรวงยุติธรรม โดยให้มีกรมสอบสวนคดีพิเศษเพื่อรับผิดชอบคดรอาญาบางประเภท กำหนดให้อยู่ในอำนาจหน้าที่ของกรมสอบสวนคดีพิเศษ และจำเป็นต้องมีผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน จึงกำหนดให้มีพนักงานสอบสวนคดีพิเศษ เจ้าหน้าที่คดีพิเศษ และวิธีการสอบสวนคดีพิเศษ เพื่อให้การป้องกันและปราบปรามเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ผู้เสนอ
๑. พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์ ๒. นายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์
พรรค ชาติไทย
ผู้รับรอง
๑. นายนพดล พลเสน ๒. นายธีรโชต กองทอง
๓. นางสาวอรดี สุทธศรี ๔. นายกอบศักดิ์ ชุติกุล
๕. นายชูวงศ์ ฉายะบุตร ๖. พันตำรวจเอก ทิน วงศ์ปลั่ง
๗. นางผ่องศรี แซ่จึง ๘. นายกมล จิระพันธุ์วาณิช
๙. นายชาญศักดิ์ ชวลิตนิติธรรม ๑๐. นายวุฒิชัย กิตติธเนศวร
๑๑. นางสาวจณิสตา ลิ่วเฉลิมวงศ์ ๑๒. นายมณเฑียร สงฆ์ประชา
๑๓. นายชัย ชิดชอบ ๑๔. นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ
๑๕. นายโสภณ ซารัมย์ ๑๖. นางสาวกัญจนา ศิลปอาชา
๑๗. นายประสิทธิ์ ตั้งศรีเกียรติกุล ๑๘. นายสิทธิชัย กิตติธเนศวร
๑๙. ม.ร.ว.เกษมสโมสร เกษมศรี ๒๐. นายอิทธิพล คุณปลื้ม

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๖
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๑๐๐๓/๒๕๔๖ ลงวันที่ ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๖
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นายวิมล กสิบุตร  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( / ) เป็น        ( ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล การกำหนดให้มีกรมสอบสวนคดีพิเศษ สังกัดกระทรวงยุติธรรม ให้รับผิดชอบคดีทางเศรษกิจและในการสืบสวนสอบสวนให้มีค่าใช้จ่ายพิเศษ กำหนดให้ที่ปรึกษาคดีพิเศษได้รับค่าตอบแทนตามที่กำหนด จึงเข้าลักษณะเป็นร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงิน ตามรัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๑๖๙ (๒)

กรณีร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินของสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ลงวันที่
    หนังสือแจ้งจากผู้เสนอ (กรณีคัดค้านร่าง) ที่ ลงวันที่
                 ( ) คัดค้าน    ( / ) ไม่คัดค้าน     ( ) ไม่แจ้งคัดค้านภายใน 7 วัน
    หนังสือส่งให้นายกรัฐมนตรีรับรอง ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๑๐๗๖ ลงวันที่ ๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๖
    หนังสือแจ้งเหตุขัดข้องจากเลขาธิการนายกฯ ที่ นร ลงวันที่
    หนังสือนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๐๔๑๐ ลงวันที่ ๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๖
                 ( / ) รับรอง    ( ) ไม่รับรอง
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ลงวันที่

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๕ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๖
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๕ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๖ ถึง วันพุธที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๖
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน

  วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษ พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายเกษม สรศักดิ์ดกษม ๒. พลตำรวจเอกไกรสุข สินศุข
๓. นายเจริญ จรรย์โกมล ๔. นายถาวร เสนเนียม
๕. รองศาสตราจารย์ธงทอง จันทรางศุ ๖. นายธนกร น้นที
๗. นายธาริต เพ็งดิษฐ์ ๘. นายนิพนธ์ บุญญมาณี
๙. นายนิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ ๑๐. นายบุญจง วงศ์ไตรรัตน์
๑๑. นายบูราฮานูดิน อุเซ็ง ๑๒. นายประวิช รัตนเพียร
๑๓. นายปิติพงศ์ เต็มเจริญ ๑๔. นายพงศ์เทพ เทพกาญจนา
๑๕. นายไพศาล จันทรภักดี ๑๖. นายลิขิต ธีรเวคิน
๑๗. นายวรรณชัย บุญบำรุง ๑๘. พลตำรวจโท วรรณรัตน์ คชรักษ์
๑๙. นายวัฒนา เซ่งไพเราะ ๒๐. นายวิชิต ปลั่งศรีสกุล
๒๑. นายวิทยา แก้วภราดัย ๒๒. พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์
๒๓. พลตรี ศรชัย มนตริวัต ๒๔. พันตำรวจโท สมชาย เพศประเสริฐ
๒๕. นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ ๒๖. นายสานิต ว่องสัธนพงษ์
๒๗. นายสามารถ แก้วมีชัย ๒๘. นายสุขุมพงศ์ โง่นคำ
๒๙. นายสุทธิชัย จันทร์อารักษ์ ๓๐. นายสุทัศน์ เงินหมื่น
๓๑. นายสุวโรช พะลัง ๓๒. พันเอก อภิวันท์ วิริยะชัย
๓๓. นายอรรถสิทธิ์ (คันคาย) ทรัพยสิทธิ์ ๓๔. นายอิทธิรัตน์ จันทรสุรินทร์
๓๕. นายเอกภาพ พลซื่อ
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๗๐ ลงวันที่ ๒๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๖
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๖
  ใช้ร่างพระราชบัญญัติของ คณะรัฐมนตรี เป็นหลักในการพิจารณา

  ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกัน
  เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๑๐๐๑/๒๕๔๖ ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี (ร่างฯหลัก)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๑๖๘/๒๕๔๔ ผู้เสนอ นายสุทัศน์  เงินหมื่น (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๑๐๐๓/๒๕๔๖ ผู้เสนอ พลตำรวจโท วิโรจน์  เปาอินทร์ (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๑๐๐๗/๒๕๔๖ ผู้เสนอ นายประสิทธิ์  ชัยวิรัตนะ (ร่างฯทำนองเดียวกัน)

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๔๖
  ผลการพิจารณา ( / ) มีข้อสังเกต        ( ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๒๖๓๘/๒๕๔๖      ลงวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๔๖

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๒๔ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๗ พฤษภาคม ๒๕๔๖
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๒๕ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๔๖
  มติ ( / ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ

กรณีมีข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการ
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๒๕ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๔๖
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับข้อสังเกต     ( ) ไม่เห็นด้วยกับข้อสังเกต
  หนังสือส่งข้อสังเกตของกรรมาธิการไปยังเลขาธิการ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๑๓๙๑๒ ลงวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๔๖

หนังสือยืนยันไปยังวุฒิสภา ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๔๘๗๗ ลงวันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๔๖

การพิจารณาของวุฒิสภา
  เลขทะเบียนรับ (กองกลาง สว.) ๓๒๑๕/๒๕๔๖ ลงวันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๔๖
  เลขทะเบียนรับ (กองการประชุม สว.) ๐๔๐๕/๒๕๔๖ ลงวันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๔๖
  เลขทะเบียนรับ (ฝ่ายญัตติ สว.) ๐๐๑๕/๒๕๔๖ ลงวันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๔๖

การพิจารณาวาระที่ ๑ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( / ) เห็นชอบด้วยกับหลักการ        ( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับหลักการ

ส่งคณะกรรมาธิการ
  ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน คน
  วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกวุฒิสภา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการประกอบด้วย

  หนังสือยืนยันมติ ที่ สว ๐๐๐๘ / ลงวันที่
  กำหนดการแปรญัตติ วัน
  สิ้นสุดวันที่

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่
  ผลการพิจารณา               ( ) มีข้อสังเกต        ( ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังวุฒิสภา ที่ ลงวันที่

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( / ) แก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ

  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๕๗๔๕ (ด่วนที่สุด) ลงวันที่ ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๔๖

กรณีวุฒิสภาลงมติแก้ไขเพิ่มเติม
สภาผู้แทนราษฎรเห็นว่าเป็นการแก้ไขเพิ่มเติมในสาระสำคัญหรือกรณีอื่น และไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม
  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๕๗๔๕ (ด่วนที่สุด) ลงวันที่ ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๔๖
  สภาผู้แทนราษฎรรับที่ ๑๐๔๙๒ ลงวันที่ ๕ กันยายน ๒๕๔๖
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๑๒ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๔๖  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๑๔ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๔๖  
  มติ ( ) เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม ( / ) ไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม

  สภาผู้แทนราษฎรกำหนดกรรมาธิการร่วมกันฝ่ายละ ๑๒ คน
  คณะกรรมาธิการร่วมกันเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษ พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการฝ่ายสภาผู้แทนราษฎรประกอบด้วย
 
๑. นายถาวร ตรีรัตน์ณรงค์ ๒. นายธนกร นันที
๓. นายธาริต เพ็งดิษฐ์ ๔. นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค
๕. นายลิขิต ธีรเวคิน ๖. นายวิชิต ปลั่งศรีสกุล
๗. นายวิทยา แก้วภราดัย ๘. พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์
๙. พันตำรวจโท สมชาย เพศประเสริฐ ๑๐. นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์
๑๑. นายสามารถ แก้วมีชัย ๑๒. พันเอก อภิวันท์ วิริยะชัย

  หนังสือสภาผู้แทนราษฎรแจ้งจำนวนกรรมาธิการร่วมกัน ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๙๙๐๔ ลงวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๔๖
  วุฒิสภารับที่ ลงวันที่

  หนังสือวุฒิสภาแจ้งการตั้งกรรมาธิการร่วมกัน ที่ สว ๐๐๐๘ / ลงวันที่

  คณะกรรมาธิการร่วมกันพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวัน ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๔๖  
  ผลการพิจารณา ( ) มีข้อสังเกต       ( / ) ไม่มีข้อสังเกต  
หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการร่วมกันไปยังสภาผู้แทนราษฎร ๕๖๔๓/๒๕๔๖ ลงวันที่ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๔๖

ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๓๐ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๖  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๓๐ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๖
  มติ ( / ) เห็นชอบ       ( ) ไม่เห็นชอบ  
  หนังสือสภาผู้แทนราษฎรแจ้งกลับไปยังวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๘ / ๑๓๐๔๗ ลงวันที่ ๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๖

ที่ประชุมวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ  
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( / ) เห็นชอบ       ( ) ไม่เห็นชอบ  
  หนังสือแจ้งจากวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๘ / ๖๐๐๖ ลงวันที่ ๒๑ ตุลาคม ๒๕๔๗

ร่างพระราชบัญญัติได้รับความเห็นชอบของรัฐสภา
  หนังสือยืนยันไปยังเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๑๓๙๑๑ ลงวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๔๖
  ประกาศราชกิจจานุเบกษา ประเภท ก ฉบับกฤษฎีกา
  เล่มที่ ๑๒๑ ตอน ๘ ก หน้าที่ - วันที่ ๑๙ มกราคม ๒๕๔๗ พุทธศักราช ๒๕๔๗

สถานภาพของร่างฯ เห็นชอบประกาศใช้เป็นกฎหมาย