สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๑๕ ปี พ.ศ. ๒๕๒๙

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล ให้คณะกรรมการ ป.ป.ป. มีอำนาจทำการสอบสวนเจ้าหน้าที่ของรัฐที่กระทำผิดอาญาเพื่อส่งสำนวนการสอบสวนให้พนักงานอัยการฟ้องคดีได้โดยไม่ต้องผ่านพนักงานสอบสวน
ผู้เสนอ
๑. นายเปรม มาลากุล ณ อยุธยา ๒. นายสมศักดิ์ ชาญด้วยกิจ
พรรค รวมไทย
ผู้รับรอง
๑. นายอดุล ภูมิณรงค์ ๒. นายเจริญ เชาวน์ประยูร
๓. นายบุญส่ง สมใจ ๔. นายเชวง วงศ์ใหญ่
๕. นายเชาวลิต สุขสวัสดิ์ ๖. นายศุภสิทธิ์ เตชะตานนท์
๗. นายไพโรจน์ ติยะวานิช ๘. นายอารยะ ชุมดวง
๙. นายพิชิต ธีระรัชตานนท์ ๑๐. นายถวิล ฤกษ์หร่าย
๑๑. นายบุญเสริม ถาวรกูล ๑๒. นายโอภาส พลศิลป
๑๓. นายวิจิตร ยอดสุวรรณ ๑๔. นายประสาร ด่านกุล
๑๕. นายสมศักดิ์ ชาญด้วยกิจ ๑๖. นายชัย ชิดชอบ
๑๗. พันตำรวจตรี อร่าม จงสวัสดิ์ ๑๘. นายมีชัย พันธุวร
๑๙. นายปรีชา เร่งสมบูรณ์สุข ๒๐. นายชาญชัย ไพรัชกุล
๒๑. นายเดช วงศ์เทพ ๒๒. นายวิจิตร แจ่มใส

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๘ ตุลาคม ๒๕๒๙
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๒๙๑/๒๕๒๙ ลงวันที่ ๘ ตุลาคม ๒๕๒๙
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( ) เป็น        ( / ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล การกำหนดอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ ป.ป.ป. ย่อมไม่กระทบต่องบประมาณของแผ่นดิน

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
สถานภาพของร่างฯ ผู้เสนอขอถอน