สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล ให้มีกฎหมายเพื่อยกระดับวิทยาลัยช่างกลปทุมวันเป็นสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน เป็นการขยายโอยกาสใน การศึกษาต่อด้านวิชาชีพระดับปริญญาตรี สังกัดกรมอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ มีการแบ่งส่วนราชการ มีอำนาจให้ปริญญา กำหนดการดำเนินการ อำนาจหน้าที่ของสถาบัน มีอธิการบดีเป็นผู้บังคับบัญชาในการ บริหารงาน ให้มีตำแหน่งทางวิชาการ ปริญญาและครุยวิทยฐานะ รายได้สถาบันได้จากเงินงบประมาณ แผ่นดิน ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการจัดสรรให้ (ตามมาตรา 9) และได้จากเงินผลประโยชน์ ค่าธรรมเนียม และทรัพย์สินที่มีผู้อุทิศให้ และไม่เป็นรายได้ที่ต้องนำส่งกระทรวงการคลัง ตามกฎหมายว่าด้วยเงินคงคลัง และกฎหมายงบประมาณ
ผู้เสนอ
๑. นายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์ ๒. นางสาวกัญจนา ศิลปอาชา
พรรค ชาติไทย
ผู้รับรอง
๑. นาวาโท เดชา สุขารมณ์ ๒. นายกมล จิระพันธุ์วาณิช
๓. นายอนุรักษ์ จุรีมาศ ๔. นายวาสิต พยัคฆบุตร
๕. นายเรวัต สิรินุกุล ๖. นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ
๗. นายนิยม วรปัญญา ๘. นายธีรพันธ์ วีระยุทธวัฒนะ
๙. นายมณเฑียร สงฆ์ประชา ๑๐. นายสง่า ธนสงวนวงศ์
๑๑. นายชาญศักดิ์ ชวลิตนิติธรรม ๑๒. นายสมชาย สหชัยรุ่งเรือง
๑๓. นายวิทยา คุณปลื้ม ๑๔. พันจ่าอากาศเอก เด็ดดวงดอกรัก คุ้มชนะ
๑๕. นายบุญชู ตรีทอง ๑๖. นายวีระพล อดิเรกสาร
๑๗. นายทศพร เสรีรักษ์ ๑๘. นายสิทธิชัย กิตติธเนศวร
๑๙. นายจองชัย เที่ยงธรรม ๒๐. นายสนธยา คุณปลื้ม

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๒ ธันวาคม ๒๕๔๐
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๒๕๒/๒๕๔๐ ลงวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๔๐
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นางสินี ส้มมี  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( / ) เป็น        ( ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล การยกระดับวิทยาลัยช่างกลปทุมวัน เป็นสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน โดยกำหนดให้รายได้ของสถาบันมา จากเงินงบประมาณรายจ่ายของแผ่นดิน และรายได้ของสถาบัน ไม่ต้องนำส่งกระทรวงการคลังตาม กฎหมายว่าด้วยเงินงบประมาณ ทำให้รัฐขาดรายรับ และมีผลให้รัฐต้องจัดสรรเงินงบประมาณรายจ่าย ของแผ่นดินมาดำเนินการ

กรณีร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินของสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๑๐๔๕๖ ลงวันที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๔๐
    หนังสือแจ้งจากผู้เสนอ (กรณีคัดค้านร่าง) ที่ ลงวันที่
                 ( ) คัดค้าน    ( ) ไม่คัดค้าน     ( ) ไม่แจ้งคัดค้านภายใน 7 วัน
    หนังสือส่งให้นายกรัฐมนตรีรับรอง ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๑๐๔๒๘ ลงวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๔๐
    หนังสือแจ้งเหตุขัดข้องจากเลขาธิการนายกฯ ที่ นร ลงวันที่
    หนังสือนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๐๑๑๓/๒๔๕๕๒ ลงวันที่ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๔๐
                 ( / ) รับรอง    ( ) ไม่รับรอง
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ลงวันที่

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๗ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๒๔ ธันวาคม ๒๕๔๐
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๙ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๗ มกราคม ๒๕๔๑
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ
    คะแนนเสียง เอกฉันท์

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๗ คน

  วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายกมล บันไดเพชร ๒. นางสาวกัญจนา ศิลปอาชา
๓. นางคมคาย พลบุตร ๔. นายจรูญ ชูลาภ
๕. นายเจริญ การุญ ๖. นายเจริญ คันธวงศ์
๗. นายชัย ชิดชอบ ๘. นายทวีวัฒน์ ฤทธิ์ฤาชัย
๙. นางสาวธารทอง ทองสวัสดิ์ ๑๐. นายบุญชง วีสมหมาย
๑๑. นายประวิช รัตนเพียร ๑๒. นายประสพ แสนคำเครือ
๑๓. นางสาวพวงเพชร สารคุณ ๑๔. นายพา อักษรเสือ
๑๕. นายไพร พัฒโน ๑๖. นายลำพอง พิลาสมบัติ
๑๗. นายวิจารณ์ ก้องสมุท ๑๘. นายวิจิตร ติจันทึก
๑๙. นายวินัย เสนเนียม ๒๐. นายสงวน บุญปิยทัศน์
๒๑. นายสนั่น สุธากุล ๒๒. นายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล
๒๓. นายสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล ๒๔. นายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์
๒๕. พันเอกอภิวันท์ วิริยะชัย ๒๖. นายอำนาจ ชนะวงศ์
๒๗. นายอุดมเดช รัตนเสถียร
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๗ ลงวันที่ ๙ มกราคม ๒๕๔๑
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่ ๑๔ มกราคม ๒๕๔๑
  ใช้ร่างพระราชบัญญัติของ คณะรัฐมนตรี เป็นหลักในการพิจารณา

  ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกัน
  เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๒๒๕/๒๕๔๐ ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี (ร่างฯหลัก)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๖๗/๒๕๔๐ ผู้เสนอ นายเจริญ  การุญ (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๒๕๒/๒๕๔๐ ผู้เสนอ นายสุรสิทธิ์  นิติวุฒิวรรักษ์ (ร่างฯทำนองเดียวกัน)

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๑
  ผลการพิจารณา ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๑๗.๑๓/๑๐๘      ลงวันที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๑

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๒๑ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๑
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๒๑ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๑
  มติ ( / ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ
  คะแนนเสียง เอกฉันท์

หนังสือยืนยันไปยังวุฒิสภา ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๑๓๗๒ ลงวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๑

การพิจารณาของวุฒิสภา
  เลขทะเบียนรับ (กองกลาง สว.) ๐๐๐๕/๒๕๔๑ ลงวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๑
  เลขทะเบียนรับ (กองการประชุม สว.) ๐๐๗๘/๒๕๔๑ ลงวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๑
  เลขทะเบียนรับ (ฝ่ายญัตติ สว.) ๐๐๐๕/๒๕๔๑ ลงวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๑
  พิจารณาให้เสร็จภายใน ๓๐ วัน         ครบกำหนดวันที่ ๒๒ มีนาคม ๒๕๔๑
  นิติกรฝ่ายวุฒิสภา นายรพีพงศ์ ภูชฎาภิรมย์

การพิจารณาก่อนรับหลักการของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๑๐ (สมัยสามัญทั่วไป)
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๐ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๑
  มติ ( / ) ให้ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ     ( ) ไม่ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ
  คณะกรรมาธิการ วิสามัญ พิจารณาก่อนรับหลักการ
  :csgpnm1
คณะกรรมาธิการก่อนรับหลักการประกอบด้วย
  :csname1

  ระยะเวลาในการดำเนินงาน :vstmhr วัน การขอขยายเวลาครั้งที่ ๑ :vstmhr1 วัน
    การขอขยายเวลาครั้งที่ ๒ :vstmhr2 วัน
    การขอขยายเวลาครั้งที่ ๓ :vstmhr3 วัน
    สิ้นสุดวันที่ :vsdthr
  หนังสือรายงานจากคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ :vsbmshr ลงวันที่ :vsdmshr
  ผลการพิจารณา ( :vsobhry ) มีข้อสังเกตุ     ( :vsobhrn ) ไม่มีข้อสังเกตุ

การพิจารณาวาระที่ ๑ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๑๑ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๖ มีนาคม ๒๕๔๑
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๑ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๖ มีนาคม ๒๕๔๑
  มติ ( / ) เห็นชอบด้วยกับหลักการ        ( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับหลักการ

ส่งคณะกรรมาธิการ
  ( / ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๑๗ คน
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สว ๐๐๐๘ / ว๖๗๕ ลงวันที่ ๖ มีนาคม ๒๕๔๑
  กำหนดการแปรญัตติ วัน
  การขอขยายระยะเวลาเป็นกรณีพิเศษ
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๑ ๓๐ วัน
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๒ วัน
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๓ วัน

  สิ้นสุดวันที่

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๒๓ เมษายน ๒๕๔๑
  ผลการพิจารณา               ( / ) มีข้อสังเกต        ( ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังวุฒิสภา ที่ ๐๐๐๙/(ร๓๒) ลงวันที่ ๒๓ เมษายน ๒๕๔๑

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๑ (สมัยวิสามัญ) วันศุกร์ที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๔๑
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑ (สมัยวิสามัญ) วันศุกร์ที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๔๑
  มติ ( / ) เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) แก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ

กรณีมีข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวุฒิสภา
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑ (สมัยวิสามัญ) วันศุกร์ที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๔๑
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับข้อสังเกต       ( ) ไม่เห็นด้วยกับข้อสังเกต
  หนังสือส่งข้อสังเกตของกรรมาธิการไปยังเลขาธิการฯ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๑๑๙๔ ลงวันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๔๑

  หนังสือยืนยันไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๗๙๔ (ด่วนมาก) ลงวันที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๔๑

กรณีวุฒิสภาเห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
  หนังสือยืนยันไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๗๙๔ (ด่วนมาก) ลงวันที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๔๑
  สภาผู้แทนราษฎรรับที่ ๑๔๓/๒๕๔๑ ลงวันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๔๑
  แจ้งที่ประชุมทราบ :vmehp
  หนังสือยืนยันไปยังเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ สผ ๐๐๐๘ / ลงวันที่
  ประกาศราชกิจจานุเบกษา ประเภท ก ฉบับกฤษฎีกา
  เล่มที่ ๑๑๕ ตอน ๗๙ ก หน้าที่ วันที่ ๒ พฤศจิกายน ๒๕๔๑ พุทธศักราช ๒๕๔๑

สถานภาพของร่างฯ เห็นชอบประกาศใช้เป็นกฎหมาย