สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๑ ปี พ.ศ. ๒๕๔๔

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล ให้มีกฎหมายธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย เนื่องจากวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมเป็นวิสาหกิจที่มีความสำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศให้มีความเข้มแข็งและเติบโตอย่างยั่งยืน จึงสมควรจัดตั้งธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทยขึ้นเพื่อสนับสนุนส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจเช่นว่านั้นที่มีอยู่เป็นจำนวนมากได้อย่างเป็นระบบ
ผู้เสนอ
๑. นายประมณฑ์ คุณะเกษม ๒. ม.ร.ว.ดำรงดิศ ดิศกุล
๓. นายสงวน พงษ์มณี ๔. นายสุรนันทน์ เวชชาชีวะ
๕. นายพิมล ศรีวิกรม์
พรรค ไทยรักไทย
ผู้รับรอง
๑. นายวิชิต ปลั่งศรีสกุล ๒. นายนพดล อินนา
๓. นายประเสริฐ เด่นนภาลัย ๔. นางผณินทรา ภัคเกษม
๕. นางสาวชรินรัตน์ พุทธปวน ๖. นายพงษ์ศักดิ์ รักตพงศ์ไพศาล
๗. นายสฤต สันติเมทนีดล ๘. นายประมวล รุจนเสรี
๙. นายสุวัฒน์ ม่วงศิริ ๑๐. นายการุญ จันทรางศุ
๑๑. นายบุญทรง เตริยาภิรมย์ ๑๒. นายศิริ หวังบุญเกิด
๑๓. นายวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล ๑๔. นายพรชัย อรรถปรียางกูร
๑๕. นางอนงค์วรรณ เทพสุทิน ๑๖. นางสาวคนึง ไทยประสิทธิ์
๑๗. นายพฤฒิชัย ดำรงรัตน์ ๑๘. นายพิชาญ พิบูลย์วัฒนวงษ์
๑๙. นายนิทัศน์ ศรีนนท์ ๒๐. นางมุกดา พงษ์สมบัติ

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๔๔
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๒๑๖/๒๕๔๔ ลงวันที่ ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๔๔
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นางสุภาวดี ตันตระกูล  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( / ) เป็น        ( ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล หากร่างพระราชบัญญัตินี้มีผลใช้บังคับเป็นกฎหมายจะทำให้รัฐจะต้องจัดสรรเงินงบประมาณ ของแผ่นดินมาเป็นเงินอุดหนุนให้แก่ธนาคาร จึงเข้าลักษณะเป็นร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงิน

กรณีร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินของสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ลงวันที่
    หนังสือแจ้งจากผู้เสนอ (กรณีคัดค้านร่าง) ที่ ลงวันที่
                 ( ) คัดค้าน    ( ) ไม่คัดค้าน     ( / ) ไม่แจ้งคัดค้านภายใน 7 วัน
    หนังสือส่งให้นายกรัฐมนตรีรับรอง ที่ สผ ๐๐๐๘ / ลงวันที่
    หนังสือแจ้งเหตุขัดข้องจากเลขาธิการนายกฯ ที่ นร ลงวันที่
    แจ้งเหตุขัดข้องให้ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรทราบ(กรณีเปิดสมัยประชุม)
    ในการประชุม
    หนังสือนายกรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่
                 ( / ) รับรอง    ( ) ไม่รับรอง
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ลงวันที่

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๓๕ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๔๔
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๓๕ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๔๔ ถึง วันพุธที่ ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๔๔
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน

  วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายกนก อภิรดี ๒. นายกรพจน์ อ้ศวินวิจิตร
๓. นายกอร์ปศักดิ์ สภาวสุ ๔. นายกิตติเดช สูตรสุคนธ์
๕. นายเกษม สรศักดิ์เกษม ๖. นายเกียรติ สิทธีอมร
๗. นายจุติ ไกรฤกษ์ ๘. นายเฉลิมชัย อุฬารกุล
๙. นายชัยวุฒิ ธนาคมานุสรณ์ ๑๐. นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ
๑๑. นายธนญ ตันติสุนทร ๑๒. ร้อยโทนพดล พันธุ์กระวี
๑๓. นายนิพน ฮะกีมี ๑๔. นายนิพัทธ พุกกะณะสุต
๑๕. พันตำรวจโท บรรยิน ตั้งภากรณ์ ๑๖. นายบุญทรง เตริยาภิรมย์
๑๗. นายบุรินทร์ หิรัญบูรณะ ๑๘. นายประมณฑ์ คุณะเกษม
๑๙. นายปรีชา เลาหพงศ์ชนะ ๒๐. นายปานปรีย์ พหิทธานุกร
๒๑. นายพิมล ศรีวิกรม์ ๒๒. นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค
๒๓. นายไพศาล พืชมงคล ๒๔. นายรุ่งเรือง พิทยศิริ
๒๕. นายวราเทพ รัตนากร ๒๖. นายวิจิตร สุพินิจ
๒๗. นายวิทยา บุรณศิริ ๒๘. นายสงวน พงษ์มณี
๒๙. ว่าที่พันตรีสรขาติ สุวรรณพรหม ๓๐. นายสรรเสริญ สมะลาภา
๓๑. นางสุมลมาลย์ กัลยาศิริ ๓๒. นายสุรนันทน์ เวชชาชีวะ
๓๓. นายโสภณ เพชรสว่าง ๓๔. นายองอาจ คล้ามไพบูลย์
๓๕. นายอนุชา นาคาศัย
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๕๑๖ ลงวันที่ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๔
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๔
  ใช้ร่างพระราชบัญญัติของ คณะรัฐมนตรี เป็นหลักในการพิจารณา

  ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกัน
  เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๑๙๗/๒๕๔๔ ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี (ร่างฯหลัก)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๒๑๖/๒๕๔๔ ผู้เสนอ นายประมณฑ์  คุณะเกษม (ร่างฯทำนองเดียวกัน)

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๔๕
  ผลการพิจารณา ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๓๒๑๖/๒๕๔๕      ลงวันที่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๔๕

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๓๐ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๔๕
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๓๐ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๔๕
  มติ ( / ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ

หนังสือยืนยันไปยังวุฒิสภา ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๔๗๑๕ ลงวันที่ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๔๕

การพิจารณาของวุฒิสภา
  เลขทะเบียนรับ (กองกลาง สว.) ๐๐๐๔/๒๕๔๕ ลงวันที่ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๔๕
  เลขทะเบียนรับ (กองการประชุม สว.) ๐๐๐๗/๒๕๔๕ ลงวันที่ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๔๕
  เลขทะเบียนรับ (ฝ่ายญัตติ สว.) ๐๐๐๘/๒๕๔๕ ลงวันที่ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๔๕

การพิจารณาวาระที่ ๑ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( / ) เห็นชอบด้วยกับหลักการ        ( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับหลักการ

ส่งคณะกรรมาธิการ
  ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน คน
  วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกวุฒิสภา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการประกอบด้วย

  หนังสือยืนยันมติ ที่ สว ๐๐๐๘ / ลงวันที่
  กำหนดการแปรญัตติ วัน
  สิ้นสุดวันที่

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่
  ผลการพิจารณา               ( ) มีข้อสังเกต        ( ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังวุฒิสภา ที่ ลงวันที่

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( / ) แก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ

  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๓๙๕๐ (ด่วนที่สุด) ลงวันที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๔๕

กรณีวุฒิสภาลงมติแก้ไขเพิ่มเติม
สภาผู้แทนราษฏรเห็นว่ามิได้เป็นการแแก้ไขเพิ่มเติมในสาระสำคัญ และเห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม
  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๓๙๕๐ (ด่วนที่สุด) ลงวันที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๔๕
  สภาผู้แทนราษฎรรับที่ ๑๐๐๑๖/๒๕๔๕ ลงวันที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๔๕
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๑๗ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒ ตุลาคม ๒๕๔๕  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๑๗ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒ ตุลาคม ๒๕๔๕  
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม ( ) ไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม

สถานภาพของร่างฯ เห็นชอบประกาศใช้เป็นกฎหมาย