สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (การฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้)
หลักการและเหตุผล เพิ่มบทบัญญัติมาตรา ๓ ทวิ (มาตรา ๙๐/๑ ถึงมาตรา ๙๐/๗๙) ว่าด้วยกระบวยพิจารณาเกี่ยวกับการฟื้นฟู กิจการของลูกหนี้ ในพระราชบัญญัติล้มละลาย พุทธศักราช ๒๔๘๓ เนื่องจากบทบัญญัติ บางมาตราไม่ เหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมในปัจจุบัน โดยเฉพาะเมื่อลูกหนี้ที่เป็นนิติบุคคลประสบปัญหาสภาพ คล่องทางการเงินชั่วคราว อันควรได้รับความช่วยเหลือทางการเงิน จากผู้ประสงค์จะให้ความช่วยเหลือทาง การเงินแก่ลูกหนี้ เพื่อให้ลูกหนี้มีโอกาสได้ฟื้นฟูกิจการ แต่บทบัญญัติของ พระราชบัญญัติล้มละลาย พุทธศักราช ๒๔๘๓ ไม่เปิดโอกาสให้ดำเนินการช่วยเหลือนั้นได้ โดยผู้ที่ให้ความช่วยเหลือไม่ได้รับความคุ้ม ครองตามกฎหมาย เนื่องจากมาตรา ๙๔ (๒) แห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย พุทธศักราช ๒๔๘๓ บัญญัติ ให้เจ้าหนี้ที่ยอมให้ลูกหนี้ก่อหนี้ขึ้นโดยรู้อยู่แล้วว่าลูกหนี้มีหนี้สินล้นพ้นตัว ไม่มีสิทธิขอรับชำระหนี้ในคดี ล้มละลาย ทั้งที่ควรจะได้รับความคุ้มครอง เป็นกรณีพิเศษต่างหากจากเจ้าหนี้ผู้มีสิทธิได้รับชำระหนี้ใน คดีล้มละลาย เป็นเหตุให้ไม่มีสถาบันทางการเงินหรือเอกชนรายใดยินยอมให้ ความช่วยเหลือทางการ เงินแก่ลูกหนี้ที่ประสบปัญหาสภาพคล่อง ทางการเงินชั่วคราว ลูกหนี้จ
ผู้เสนอ
๑. นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค ๒. ศาสตราจารย์มารุต บุนนาค
๓. นายปรีชา สุวรรณทัต ๔. นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
๕. นายสุทัศน์ เงินหมื่น
พรรค ประชาธิปัตย์
ผู้รับรอง
๑. นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย ๒. นายไพร พัฒโน
๓. นายวิฑูรย์ นามบุตร ๔. นายมานะ มหาสุวีระชัย
๕. นางวรศุลี เชาว์ศิริกุล ๖. นายอิสสระ สมชัย
๗. นายทรงพล โกวิทศิริกุล ๘. นายธีระ สลักเพชร
๙. นายเอกพจน์ ปานแย้ม ๑๐. นายบุญมาก ศิริเนาวกุล
๑๑. นายวิสาร เตชะธีราวัฒน์ ๑๒. นายธวัช วิชัยดิษฐ
๑๓. นายชาญชัย อิสระเสนารักษ์ ๑๔. นายชำนิ ศักดิเศรษฐ์
๑๕. นายสุพัฒน์ ธรรมเพชร ๑๖. นายสุวโรช พะลัง
๑๗. นายสุรเชษฐ์ แวอาแซ ๑๘. นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ
๑๙. นายชุมพล กาญจนะ ๒๐. นางอัญชลี วานิช เทพบุตร

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๒ กันยายน ๒๕๔๐
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๒๐๑/๒๕๔๐ ลงวันที่ ๓ กันยายน ๒๕๔๐
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นายสมพงษ์ รัตณะวรรณ  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( ) เป็น        ( / ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล เงินตามมาตรา ๙๐/๗ เป็นเงินที่ใช้ในการฟื้นฟูกิจการมิได้เป็นรายได้ของรัฐ และไม่มีผลกระทบต่อ งบประมาณแผ่นดิน

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๑๘ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันพุธที่ ๓ กันยายน ๒๕๔๐
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๑๘ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันพุธที่ ๓ กันยายน ๒๕๔๐
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๗ คน

  คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (การฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้)
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายกมล บันไดเพชร ๒. นายไกรสร บารมีอวยชัย
๓. นายจรัญ ภักดีธนากุล ๔. นายชาญณรงค์ ปราณีจิตต์
๕. นายไชยา พรหมา ๖. นายเดช บุญ-หลง
๗. นายถาวร เสนเนียม ๘. นายประยุทธ์ ศิริพานิชย์
๙. นายปรีชา สุวรรณทัต ๑๐. นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค
๑๑. นายพูลศักดิ์ อยู่ประเสริฐ ๑๒. นายไพร พัฒโน
๑๓. นางมยุรา อุรเคนทร์ ๑๔. นายระวี หิรัญโชติ
๑๕. นายวิทยา ขันอาสา ๑๖. นายวิศิษฏ์ วิศิษฏ์สรอรรถ
๑๗. นายศุภสิทธิ์ เตชะตานนท์ ๑๘. นายสมบัติ ศรีสุรินทร์
๑๙. นายสมศักดิ์ พันธ์เกษม ๒๐. นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย
๒๑. นายสุเทพ ดีบุญมี ณ ชุมแพ ๒๒. นายสุประดิษฐ์ หุตะสิงห์
๒๓. นายสุวโรช พะลัง ๒๔. นายสุวัฒน์ นิงสานนท์
๒๕. พันเอก อภิวันท์ วิริยะชัย ๒๖. นางอรดี สุทธศรี
๒๗. นายอุดม ไกรวัตนุสสรณ์
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๓๙๕ ลงวันที่ ๕ กันยายน ๒๕๔๐
  กำหนดแปรญัตติ ๑๕ วัน สิ้นสุดวันที่

  ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกัน
  เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๑๘๕/๒๕๔๐ ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี (ร่างฯหลัก)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๒๐๑/๒๕๔๐ ผู้เสนอ นายพีระพันธุ์  สาลีรัฐวิภาค (ร่างฯทำนองเดียวกัน)

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๐
  ผลการพิจารณา ( / ) มีข้อสังเกต        ( ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๔๗๑๘/๒๕๔๐      ลงวันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๐

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๕ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๔๐
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๕ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๔๐
  มติ ( / ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ
  คะแนนเสียง เอกฉันท์

กรณีมีข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการ
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๕ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๔๐
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับข้อสังเกต     ( ) ไม่เห็นด้วยกับข้อสังเกต
  คะแนนเสียง เอกฉันท์  

หนังสือยืนยันไปยังวุฒิสภา ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๑๐๗๔๔ ลงวันที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๔๐

การพิจารณาของวุฒิสภา
  เลขทะเบียนรับ (กองกลาง สว.) ลงวันที่
  เลขทะเบียนรับ (กองการประชุม สว.) ลงวันที่
  เลขทะเบียนรับ (ฝ่ายญัตติ สว.) ๐๐๖๘/๒๕๔๐ ลงวันที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๔๐
  พิจารณาให้เสร็จภายใน ๖๐ วัน         ครบกำหนดวันที่ ๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๑
  นิติกรฝ่ายวุฒิสภา นางวัชรี สินธวานุวัฒน์

การพิจารณาก่อนรับหลักการของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) ให้ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ     ( / ) ไม่ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ
การพิจารณาวาระที่ ๑ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๑๐ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๑
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๐ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพฤหัสบดีที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๐
  มติ ( / ) เห็นชอบด้วยกับหลักการ        ( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับหลักการ

ส่งคณะกรรมาธิการ
  ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๗ คน
  คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายกรพจน์ อัศวินวิจิตร ๒. นายเกษม สรศักดิ์เกษม
๓. นายไกรสร บารมีอวยชัย ๔. นายจิรายุทธ์ วสุรัตน์
๕. นายณรงค์ชัย อัครเศรณี ๖. นายทรง องค์ชัยวัฒนะ
๗. นายทวี หนุนภักดี ๘. นายธีรพจน์ จรูญศรี
๙. คุณหญิงนิรมล สุริยสัตย์ ๑๐. นายบัณฑิต รชตะนันทน์
๑๑. นายประชัย เลี่ยวไพรัตน์ ๑๒. นายปิยะบุตร ชลวิจารณ์
๑๓. นายพชร ยุติธรรมดำรง ๑๔. นายพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา
๑๕. นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค ๑๖. นายไพศาล กุมาลย์วิสัย
๑๗. นายวิชัย โถสุวรรณจินดา ๑๘. นายวิโรจน์ ภู่ตระกูล
๑๙. นายวิศิษฏ์ วิศิษฏ์สรอรรถ ๒๐. นายวีระชัย สูตรสุวรรณ
๒๑. นายสรรเสริญ ไกรจิตติ ๒๒. นายสวัสดิ์ หอรุ่งเรือง
๒๓. นางสาวสุคนธ์ กาญจนาลัย ๒๔. นายสุธรรม จิตรานุเคราะห์
๒๕. นายสุประดิษฐ์ หุตะสิงห์ ๒๖. นายสุวรรณ ปัญญาภาส
๒๗. นางอรนุช โอสถานนท์

  หนังสือยืนยันมติ ที่ สว ๐๐๐๘ / ลงวันที่
  กำหนดการแปรญัตติ ๒๐ วัน
  สิ้นสุดวันที่

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๑
  ผลการพิจารณา               ( / ) มีข้อสังเกต        ( ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๙/(ร๑๖) ลงวันที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๑

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๑๐ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๑
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๐ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๑
  มติ ( ) เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( / ) แก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ

กรณีมีข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวุฒิสภา
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๐ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๑
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับข้อสังเกต       ( ) ไม่เห็นด้วยกับข้อสังเกต
  หนังสือส่งข้อสังเกตของกรรมาธิการไปยังเลขาธิการฯ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๕๙๑ ลงวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๑

  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๕๘๖ (ด่วนที่สุด) ลงวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๑

กรณีวุฒิสภาลงมติแก้ไขเพิ่มเติม
สภาผู้แทนราษฏรเห็นว่ามิได้เป็นการแแก้ไขเพิ่มเติมในสาระสำคัญ และเห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม
  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๕๘๖ (ด่วนที่สุด) ลงวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๑
  สภาผู้แทนราษฎรรับที่ ๑๔๔๑/๒๕๔๑ ลงวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๑
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๒๕ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๔ มีนาคม ๒๕๔๑  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๒๕ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๔ มีนาคม ๒๕๔๑  
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม ( ) ไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม

หมายเหตุ เป็นกฎหมาย
สถานภาพของร่างฯ เห็นชอบประกาศใช้เป็นกฎหมาย