สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๑๙ ปี พ.ศ. ๒๕๓๘

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล ให้จัดตั้งสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ มีฐานะเป็นนิติบุคคล เพื่อสนับสนุนให้มี การจัดตั้งหน่วยงานที่มีลักษณะการบริหารงานเป็นอิสระ
ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี
เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ๐๒๑๔/๑๑๘๒๒ ลงวันที่ ๑๑ ตุลาคม ๒๕๓๘
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๑๘๑/๒๕๓๘ ลงวันที่ ๑๑ ตุลาคม ๒๕๓๘
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นางสุภาวดี ตันตระกูล  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( / ) เป็น        ( ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล รัฐต้องจัดสรรและโอนงบประมาณรายจ่ายของแผ่นดินมาดำเนินการ

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๑๙ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๑ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันพุธที่ ๖ มีนาคม ๒๕๓๙
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๑๙ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๓ (สมัยสามัญ ครั้งที่หนึ่ง) วันพุธที่ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๓๙
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๗ คน

  คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายจักริน วงศ์กุลฤดี ๒. นายจาตุรงค์ เพ็งนรพัฒน์
๓. นายเจริญ จรรย์โกมล ๔. นายเจี่ย ก๊กผล
๕. นายเฉลิมชัย ห่อนาค ๖. นางสาวชดช้อย เอี่ยมพงษ์
๗. นายชัยศักดิ์ ทะไกรราช ๘. นายชูชัย มุ่งเจริญพร
๙. นายทวีศักดิ์ สุภาศรี ๑๐. นายทศพร มูลศาสตรสาทร
๑๑. นายทศพล สังขทรัพย์ ๑๒. นายประชาธิปไตย คำสิงห์นอก
๑๓. นายปรีชา มุสิกุล ๑๔. นายพรศักดิ์ เปี่ยมคล้า
๑๕. นายภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ ๑๖. นายยิ่งพันธุ์ มนะสิการ
๑๗. นางรวงทอง พันพาไพร ๑๘. นายรักษ์ ด่านกุล
๑๙. พลเรือโทโรช วิภัติภูมิประเทศ ๒๐. ว่าที่เรือโทวัลลภ ยังตรง
๒๑. ร้อยโทวิรัช พันธุมะผล ๒๒. นายศักดา คงเพชร
๒๓. นายสนั่น สุธากุล ๒๔. นายสมบัติ เปี่ยมบริบูรณ์
๒๕. นายสิทธิชัย โควสุรัตน์ ๒๖. คุณหญิงสุพัตรา มาศดิตถ์
๒๗. พันเอกอภิวันท์ วิริยะชัย
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๒๐๙ ลงวันที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๓๙
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๓๙

  ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกัน
  เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๑๘๑/๒๕๓๘ ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี (ร่างฯหลัก)

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๒๒ สิงหาคม ๒๕๓๙
  ผลการพิจารณา ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๓๔๙๐/๒๕๓๙      ลงวันที่ ๒๒ สิงหาคม ๒๕๓๙

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๑๙ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๑๖ (สมัยสามัญ ครั้งที่หนึ่ง) วันพุธที่ ๒๘ สิงหาคม ๒๕๓๙
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ

หมายเหตุ คณะกรรมาธิการพิจารณาเสร็จแล้วระหว่างนั้นมีพระราชกฤษฎีกายุบสภาเมื่อวันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๓๙ จึงทำให้ ร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวตกไป
สถานภาพของร่างฯ ยุบสภา