สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๑๙ ปี พ.ศ. ๒๕๓๘

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล แก้ไขมาตรา ๔๓๘ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ เกี่ยวกับค่าสินไหมทดแทน ให้มีการ กำหนดค่าเสียหายขึ้นต่ำกรณีกระทำโดยหมิ่นประมาท
ผู้เสนอ
๑. นายวัชรินทร์ ฉันทะกุล ๒. นายดนัยฤทธิ์ วัชราภรณ์
๓. นายจาตุรงค์ เพ็งนรพัฒน์ ๔. นายเจริญ จรรย์โกมล
๕. นายเงิน ไชยศิวามงคล
พรรค ชาติไทย
ผู้รับรอง
๑. นายสมศักดิ์ พันธ์เกษม ๒. นายศักดา คงเพชร
๓. นายประสิทธิ์ ตั้งศรีเกียรติกุล ๔. นายสกุล ศรีพรหม
๕. นายเกษม รุ่งธนเกียรติ ๖. นายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์
๗. นางสาวกัญจนา ศิลปอาชา ๘. นายสมบัติ ศรีสุรินทร์
๙. นายวิทยา คุณปลื้ม ๑๐. นายชัยศักดิ์ ทะไกรราช
๑๑. นายศุภสิทธิ์ เตชะตานนท์ ๑๒. นายวาสิต พยัคฆบุตร
๑๓. นายทรงศักดิ์ ทองศรี ๑๔. นายชูชาติ หาญสวัสดิ์
๑๕. นายธานี ยี่สาร ๑๖. ว่าที่ร้อยตรี ไพโรจน์ สุวรรณฉวี
๑๗. นายสุนทร วิลาวัลย์ ๑๘. นายประยุทธ์ ศิริพานิชย์
๑๙. นาวาโท เดชา สุขารมณ์ ๒๐. นายเรวัต สิรินุกุล

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๔ ตุลาคม ๒๕๓๘
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๑๗๙/๒๕๓๘ ลงวันที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๓๘
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นางสินี ส้มมี  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( ) เป็น        ( / ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล เป็นการแก้ไขความรับผิดสำหรับผู้กระทำความผิดให้เหมาะสมยิ่งขึ้น

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๑๙ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๑ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันพุธที่ ๖ มีนาคม ๒๕๓๙
    ที่ประชุมพิจารณา
    มติ ( ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

หมายเหตุ รอการพิจารณาวาระที่ ๑ ระหว่างนั้นมีพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร ในวันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๓๙ จึงทำให้ร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวตกไป
สถานภาพของร่างฯ ยุบสภา