สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติการออกเสียงประชามติ พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล ให้มีกฎหมายว่าด้วยการออกเสียงประชามติ และเพิ่มโอกาส ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในรูปแบบของ ประชามติ โดยกำหนดให้ประธานรัฐสภากำหนดวันออกเสียงประชามติ และให้คณะกรรมการ เลือกตั้ง กำหนดหน่วยออกเสียงแต่ละจังหวัด และก่อนออกวัน ออกเสียงประชามติไม่น้อยกว่า ๑๐ วัน ให้คณะ กรรมการประจำ ที่ออกเสียงประชามติเพื่อปฏิบัติหน้าที่ การออกเสียงให้ใช้วิธีโดยลงคะแนนโดยตรง และลับ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ที่กำหนดในกฎกระทรวง เมื่อมีการประกาศผลแล้ว ผู้มีสิทธิออกเสียง อาจเข้าชื่อไม่น้อยกว่า ๑๐๐ คน ยื่นคัดค้าน ผลการออกเสียงแต่ให้กระทำภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันประกาศ ผลโดยยื่นต่อคณะกรรมการเลือกตั้งเพื่อพิจารณาให้เสร็จภายใน ๓๐ วันนับแต่วันที่รับคำคัดค้าน และมีการ กำหนดบทลงโทษผู้ฝ่าฝืน
ผู้เสนอ
๑. นายวิชัย ตันศิริ ๒. นายสืบแสง พรหมบุญ
๓. นายปรีชา สุวรรณทัต ๔. นายธวัช วิชัยดิษฐ
๕. นายสมัย เจริญช่าง ๖. พันตำรวจโท สมชาย เพศประเสริฐ
พรรค ประชาธิปัตย์
ผู้รับรอง
๑. นายวิลาศ จันทร์พิทักษ์ ๒. นายปัญญา จีนาคำ
๓. นายสุพัฒน์ ธรรมเพชร ๔. นายวินัย เสนเนียม
๕. นายเจะอามิง โตะตาหยง ๖. นายนิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ
๗. นายไพโรจน์ ตันบรรจง ๘. นายสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล
๙. นายลาภศักดิ์ ลาภาโรจน์กิจ ๑๐. นายปรีชา มุสิกุล
๑๑. นายวิรัช ร่มเย็น ๑๒. นางสาวชรินรัตน์ พุทธปวน
๑๓. นายรักษ์ ตันติสุนทร ๑๔. นายชุมพล กาญจนะ
๑๕. นายสุวโรช พะลัง ๑๖. นางนิภา พริ้งศุลกะ
๑๗. นางคมคาย พลบุตร ๑๘. นางสาวรัตนา อนันต์นาคินทร์
๑๙. นางวรศุลี เชาว์ศิริกุล ๒๐. นายจักรพันธุ์ ยมจินดา

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๔๐
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๑๗๘/๒๕๔๐ ลงวันที่ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๔๐
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นายศิโรจน์ แพทย์พันธุ์  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( ) เป็น        ( / ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล เป็นเพียงการวางหลักเกณฑ์ วิธีการการออกเสียงประชามติ

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๑๑ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันพุธที่ ๖ สิงหาคม ๒๕๔๐
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๑๓ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันพุธที่ ๑๓ สิงหาคม ๒๕๔๐
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๗ คน

  พิจารณาร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๓๔๓ ลงวันที่ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๔๐
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่

  ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกัน
  เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๘๑/๒๕๔๐ ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี (ร่างฯหลัก)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๑๒๖/๒๕๔๐ ผู้เสนอ นายณัฐวุฒิ  ประเสริฐสุวรรณ (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๑๒๙/๒๕๔๐ ผู้เสนอ ร้อยโท กุเทพ  ใสกระจ่าง (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๑๗๘/๒๕๔๐ ผู้เสนอ นายวิชัย  ตันศิริ (ร่างฯทำนองเดียวกัน)

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๓๐ ธันวาคม ๒๕๔๐
  ผลการพิจารณา ( / ) มีข้อสังเกต        ( ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สผ ๐๐๑๗.๑๓/๔๕๖๘      ลงวันที่ ๓๐ ธันวาคม ๒๕๔๐

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๑๑ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๑๔ มกราคม ๒๕๔๑
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๑๑ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๑๔ มกราคม ๒๕๔๑
  มติ ( ) เห็นชอบ        ( / ) ไม่เห็นชอบ

หมายเหตุ ไม่เห็นชอบกับร่างพระราชบัญญัติในวาระที่ ๓ เนื่องจากร่างฯฉบับนี้มีหลักการเพื่อรองรับในกรณีรัฐสภาไม่ เห็นชอบกับร่างรัฐธรรมนูญแต่เมื่อรัฐสภาได้เห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญแล้ว ร่างฯฉบับนี้ จึงไม่มีความจำเป็นที่ จะพิจารณาต่อไป
สถานภาพของร่างฯ ตกไป