สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๑๙ ปี พ.ศ. ๒๕๓๘

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล ยกเลิกความในหมวด ๔ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ เรื่องการขายฝากตั้งแต่ มาตรา ๔๙๑ ถึง มาตรา ๕๐๒
ผู้เสนอ
๑. นายดนัยฤทธิ์ วัชราภรณ์
พรรค ชาติไทย
ผู้รับรอง
๑. นายเจริญ จรรย์โกมล ๒. นาวาโท เดชา สุขารมณ์
๓. นายบุญธง สงฆ์ประชา ๔. นายวิทยา เทียนทอง
๕. นายสุนทร วิลาวัลย์ ๖. นายเรวัต สิรินุกุล
๗. นายดุสิต รังคสิริ ๘. นายปณวัตร เลี้ยงผ่องพันธุ์
๙. นางวาณี หาญสวัสดิ์ ๑๐. นายศิลป์ชัย นุ้ยปรี
๑๑. นายธานี ยี่สาร ๑๒. นายสันต์ศักย์ งามพิเชษฐ์
๑๓. นายสมพัฒน์ แก้วพิจิตร ๑๔. นายสุรพันธ์ ชินวัตร
๑๕. นายประทวน รมยานนท์ ๑๖. นายสนั่น สบายเมือง
๑๗. นายเดช บุญหลง ๑๘. นายอนุรักษ์ จุรีมาศ
๑๙. พลเอก สนั่น เศวตเศรนี ๒๐. นายเอี่ยม ทองใจสด

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๒๗ กันยายน ๒๕๓๘
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๑๖๕/๒๕๓๘ ลงวันที่ ๒๗ กันยายน ๒๕๓๘
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นางสินี ส้มมี  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( ) เป็น        ( / ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล ยกเลิกกฎหมายเกี่ยวกับการขายฝากเพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๑๙ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๒๒ (สมัยสามัญ ครั้งที่หนึ่ง) วันพุธที่ ๔ ตุลาคม ๒๕๓๘
    ที่ประชุมพิจารณา
    มติ ( ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

หมายเหตุ รอการพิจารณาวาระที่ ๑ระหว่างนั้นมีพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร ในวันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๓๙ จึงทำให้ร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวตกไป
สถานภาพของร่างฯ ยุบสภา