สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล เนื่องจากบทบัญญัติบางมาตราของร่างพระราชบัญญัติล้มละลาย พุทธศักราช ๒๔๘๓ ไม่เหมาะสมกับทางปฏิบัติของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ เปิดโอกาสให้คู่ความใช้ประโยชน์ ในการดำเนินคดีให้ได้เปรียบกันโดยง่ายเป็นเหตุให้คู่ความที่สุจริตไม่ได้รับความเป็นธรรม อันเป็นการขัดต่อวัตถุประสงค์ของพระราชบัญญัติล้มละลาย พุทธศักราช ๒๔๘๓ นอกจากนี้ อัตราค่าธรรมเนียมในการรวบรวมทรัพย์สินของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เป็นภาระแก่คู่ความ ซึ่งเรียกเก็บในอัตราที่สูงกว่าค่าธรรมเนียมศาล จึงสมควรแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติ ล้มละลาย พุทธศักราช ๒๔๘๓ โดยแก้ไขเพิ่มเติม มาตรา ๖,มาตรา ๙,มาตรา ๑๐,มาตรา ๑๑, มาตรา ๒๑,มาตรา ๖๘,มาตรา ๙๕,มาตรา ๙๗,มาตรา ๑๐๙,มาตรา ๑๑๖,มาตรา ๑๑๗, มาตรา ๑๕๙ และมาตรา ๑๗๙ เพื่อปรับปรุงแก้ไขกระบวนการพิจารณาเกี่ยวกับการบังคับ คดีล้มละลายให้ดำเนินไปด้วยความรวดเร็วและอำนวยการยุติธรรมให้แก่คู่ความมากยิ่งขึ้น
ผู้เสนอ
๑. นายสันต์ศักย์ งามพิเชษฐ์ ๒. นายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์
พรรค ชาติไทย
ผู้รับรอง
๑. นายอนุรักษ์ จุรีมาศ ๒. พันจ่าอากาศเอก เด็ดดวงดอกรัก คุ้มชนะ
๓. นายเรวัต สิรินุกุล ๔. นายสง่า ธนสงวนวงศ์
๕. นายกมล จิระพันธุ์วาณิช ๖. นายประเทือง วิจารณ์ปรีชา
๗. นายชาตรี พิริยะกิจไพบูลย์ ๘. นายวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล
๙. นายธีรพันธ์ วีระยุทธวัฒนะ ๑๐. นาวาโท เดชา สุขารมณ์
๑๑. นางสาวพูนสุข โลหะโชติ ๑๒. พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์
๑๓. นายวาสิต พยัคฆบุตร ๑๔. นายจาตุรงค์ เพ็งนรพัฒน์
๑๕. นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ ๑๖. นายมณเฑียร สงฆ์ประชา
๑๗. นายประสิทธิ์ ตั้งศรีเกียรติกุล ๑๘. นายทศพร เสรีรักษ์
๑๙. นายชาญชัย ปทุมารักษ์ ๒๐. นายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๔๐
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๑๖๒/๒๕๔๐ ลงวันที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๔๐
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นายเสกสรร เพ็ญจันทร์  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( ) เป็น        ( / ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล ในกรณีของการแก้ไขอัตราค่าธรรมเนียมใหม่ตามมาตรา ๖๘ และมาตรา ๑๗๙ นั้น หามีผล กระทบต่อรายรับหรือรายได้ของรัฐแต่อย่างใดไม่ หากแต่จะส่งผลกระทบถึงคู่ความในคดี ล้มละลายซึ่งต้องเสียค่าใช้จ่ายและค่าธรรมเนียมในการดำเนินคดีตามปกติอยู่แล้ว ดังนั้น ในการปรับเปลี่ยนแก้ไขค่าอัตราค่าธรรมเนียมขึ้นใหม่ดังกล่าวก็เพื่อให้เหมาะสมและ สอดคล้องกับสภาวะการณ์ในปัจจุบันเท่านั้น

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๑ (สมัยวิสามัญ ครั้งที่สอง) วันพุธที่ ๒๒ ตุลาคม ๒๕๔๐
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๒๗ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพฤหัสบดีที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๔๑
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ
    คะแนนเสียง รับหลักการ ๒๐๕

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๗ คน

  พิจารณาร่างพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง ๒. นายเกียรติ ศรีสุรินทร์
๓. นายเจริญ คันธวงศ์ ๔. นายชัย ชิดชอบ
๕. นายณรงค์เลิศ สุรพล ๖. นายธนกร นันที
๗. นายประกิจ พลเดช ๘. นายพรชัย อัศววัฒนาพร
๙. นายพิษณุ พลไวย์ ๑๐. นายโภคิน พลกุล
๑๑. นายมานะ มหาสุวีระชัย ๑๒. นายมานิตย์ สุธาพร
๑๓. นายรุจิระ บุนนาค ๑๔. นายวรพร อัศวเหม
๑๕. นายวราเทพ รัตนากร ๑๖. นายวัฒนา เมืองสุข
๑๗. นายวิทยา แก้วภราดัย ๑๘. นายวิศิษฏ์ วิศิษฏ์สรอรรถ
๑๙. นายสงขลา วิชัยขัทคะ ๒๐. นายสันต์ศักย์ งามพิเชษฐ์
๒๑. นายสัมพันธ์ เลิศนุวัฒน์ ๒๒. นายสุทัศน์ เงินหมื่น
๒๓. รองศาสตราจารย์สุธีร์ ศุภนิตย์ ๒๔. นายสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล
๒๕. นายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์ ๒๖. นายอารีเพ็ญ อุตรสินธุ์
๒๗. นายเอกพร รักความสุข
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๓๑๗ ลงวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๔๑
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๔๑
  ใช้ร่างพระราชบัญญัติของ คณะรัฐมนตรี เป็นหลักในการพิจารณา

  ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกัน
  เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๑๑๓/๒๕๔๑ ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี (ร่างฯหลัก)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๑๖๒/๒๕๔๐ ผู้เสนอ นายสันต์ศักย์  งามพิเชษฐ์ (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๑๒๗/๒๕๔๑ ผู้เสนอ นายทวีวัฒน์  ฤทธิ์ฤาชัย (ร่างฯทำนองเดียวกัน)

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๔๑
  ผลการพิจารณา ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๕๕๔๙/๒๕๔๑      ลงวันที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๔๑

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๓๔ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๑ ตุลาคม ๒๕๔๑
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๙ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๖ มกราคม ๒๕๔๒ ถึง วันพุธที่ ๑๓ มกราคม ๒๕๔๒
  มติ ( / ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ

หนังสือยืนยันไปยังวุฒิสภา ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๓๒๔ ลงวันที่ ๑๕ มกราคม ๒๕๔๒

การพิจารณาของวุฒิสภา
  เลขทะเบียนรับ (กองกลาง สว.) ๐๐๐๔/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๑๕ มกราคม ๒๕๔๒
  เลขทะเบียนรับ (กองการประชุม สว.) ๐๐๑๓/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๑๕ มกราคม ๒๕๔๒
  เลขทะเบียนรับ (ฝ่ายญัตติ สว.) ๐๐๐๔/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๑๕ มกราคม ๒๕๔๒
  พิจารณาให้เสร็จภายใน ๖๐ วัน         ครบกำหนดวันที่ ๑๖ มีนาคม ๒๕๔๒
  นิติกรฝ่ายวุฒิสภา นายรพีพงศ์ ภูชฎาภิรมย์

การพิจารณาก่อนรับหลักการของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) ให้ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ     ( / ) ไม่ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ
การพิจารณาวาระที่ ๑ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๘ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๔๒
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๘ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๔๒
  มติ ( / ) เห็นชอบด้วยกับหลักการ        ( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับหลักการ

ส่งคณะกรรมาธิการ
  ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๘ คน
  วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายกรพจน์ อัศวินวิจิตร ๒. นายเกษม สรศักดิ์เกษม
๓. พลเรือเอก เกาะหลัก เจริญรุกข์ ๔. นายจิรายุทธ์ วสุรัตน์
๕. นายธีรพจน์ จรูญศรี ๖. คุณหญิงนันทกา สุประภาตะนันทน์
๗. นายนิพนธ์ วิสิษฐยุทธศาสตร์ ๘. คุณหญิงนิรมล สุริยสัตย์
๙. นายปกิต พัฒนกุล ๑๐. นายประชัย เลี่ยวไพรัตน์
๑๑. นายพชร ยุติธรรมดำรง ๑๒. นายพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา
๑๓. นายเพ็ง เพ็งนิติ ๑๔. นายไพศาล กุมาลย์วิสัย
๑๕. นายไพศิษฐ์ พิพัฒนกุล ๑๖. นายมนัส สุขสมาน
๑๗. นายวัลลภ ตังคณานุรักษ์ ๑๘. นายวิชัย โถสุวรรณจินดา
๑๙. นายวิโรจน์ ภู่ตระกูล ๒๐. นายวิศิษฏ์ วิศิษฏ์สรอรรถ
๒๑. นายวีรพงษ์ รามางกูร ๒๒. นายวีระชัย สูตรสุวรรณ
๒๓. นายสวัสดิ์ หอรุ่งเรือง ๒๔. นายสัก กอแสงเรือง
๒๕. นางสาวสุคนธ์ กาญจนาลัย ๒๖. นายสุทัศน์ เงินหมื่น
๒๗. นายสุประดิษฐ์ หุตะสิงห์ ๒๘. นายอัชพร จารุจินดา

  หนังสือยืนยันมติ ที่ สว ๐๐๐๘ / ว ๑๘๘ ลงวันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๔๒
  กำหนดการแปรญัตติ วัน
  สิ้นสุดวันที่ ๒๙ มกราคม ๒๕๔๒

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๔๒
  ผลการพิจารณา               ( / ) มีข้อสังเกต        ( ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๙/(ร ๔๐) ลงวันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๔๒

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๑๕ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๔๒
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๕ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๔๒
  มติ ( ) เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( / ) แก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ

กรณีมีข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวุฒิสภา
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๕ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๔๒
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับข้อสังเกต       ( ) ไม่เห็นด้วยกับข้อสังเกต

  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๖๘๕ (ด่วนมาก) ลงวันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๔๒

กรณีวุฒิสภาลงมติแก้ไขเพิ่มเติม
สภาผู้แทนราษฏรเห็นว่ามิได้เป็นการแแก้ไขเพิ่มเติมในสาระสำคัญ และเห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม
  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๖๘๕ (ด่วนมาก) ลงวันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๔๒
  สภาผู้แทนราษฎรรับที่ ๑๑๑/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๔๒
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๓๑ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๔๒  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๓๑ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๔๒  
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม ( ) ไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม

สถานภาพของร่างฯ เห็นชอบประกาศใช้เป็นกฎหมาย