สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๑๙ ปี พ.ศ. ๒๕๓๘

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติการท่าเรือแห่งประเทศไทย (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล แก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยการท่าเรือแห่งประเทศไทย ให้เกิดความเหมาะสม และเกิดความคล่องตัวในการบริหาร
ผู้เสนอ
๑. นายเจริญ คันธวงศ์ ๒. นางอัญชลี วานิช เทพบุตร
๓. นายพิชัย รัตตกุล ๔. นายมาโนชญ์ วิชัยกุล
๕. นายตรีพล เจาะจิตต์ ๖. นางพรพิชญ์ พัฒนกุลเลิศ
พรรค ประชาธิปัตย์
ผู้รับรอง
๑. นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ๒. นายเทอดพงษ์ ไชยนันทน์
๓. นายโกวิทย์ ธารณา ๔. นายอำนวย สุวรรณคีรี
๕. นายสุรเชษฐ์ แวอาแซ ๖. นายประเสริฐ พงษ์สุวรรณศิริ
๗. นายสิทธิชัย โควสุรัตน์ ๘. นายสมศักดิ์ แสงเจริญรัตน์
๙. นางวรศุลี เชาว์ศิริกุล ๑๐. นายสุพัฒน์ ธรรมเพชร
๑๑. นายชุมพล กาญจนะ ๑๒. นายประวิช นิลวัชรมณี
๑๓. นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ ๑๔. นายธานินทร์ ใจสมุทร
๑๕. นางนิภา พริ้งศุลกะ ๑๖. นายประชา โพธิพิพิธ
๑๗. นายสมชาย สุนทรวัฒน์ ๑๘. นายประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์
๑๙. นายชาญชัย อิสระเสนารักษ์ ๒๐. นายบุญชู โรจนเสถียร

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๒๗ กันยายน ๒๕๓๘
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๑๖๒/๒๕๓๘ ลงวันที่ ๒๗ กันยายน ๒๕๓๘
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นางสาวสุภัตรา วรวุฒิธีรกุล  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( / ) เป็น        ( ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล รัฐต้องจัดสรรงบประมาณรายจ่ายของแผ่นดินมาดำเนินการ

กรณีร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินของสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๓๘๙๐๖ ลงวันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๓๘
    หนังสือแจ้งจากผู้เสนอ (กรณีคัดค้านร่าง) ที่ ลงวันที่
                 ( ) คัดค้าน    ( ) ไม่คัดค้าน     ( ) ไม่แจ้งคัดค้านภายใน 7 วัน
    หนังสือส่งให้นายกรัฐมนตรีรับรอง ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๓๙๐๐๙ ลงวันที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๓๘
    หนังสือแจ้งเหตุขัดข้องจากเลขาธิการนายกฯ ที่ นร ๐๑๑๒/๒๑๘๐๖ ลงวันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๓๘
    แจ้งเหตุขัดข้องให้ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรทราบ(กรณีเปิดสมัยประชุม)
    ในการประชุม
    หนังสือนายกรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่
                 ( ) รับรอง    ( ) ไม่รับรอง
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ลงวันที่

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
หมายเหตุ อยู่ระหว่างการพิจารณาให้คำรับรอง ระหว่างนั้นมีพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๓๙ มีผลทำให้ร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวตกไป
สถานภาพของร่างฯ ยุบสภา