สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล ปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพวิศวกรรม ให้มีสภาวิศวกรขึ้นมีฐานะเป็นนิติบุคคล กำหนด วัตถุประสงค์ อำนาจหน้าที่ของสภาวิศวกร โดยมีคณะกรรมการสภาวิศวกรมาจากการเลือก และแต่งตั้ง กำหนดคุณสมบัติ วาระการดำรงตำแหน่ง การพ้นจากตำแหน่งของคณะ กรรมการและให้มีสำนักงานสภาวิศวกรทำหน้าที่ธุรการต่าง ๆ ให้แก่คณะกรรมการและ สภาวิศวกรกำหนดให้มีคณะกรรมการจรรยาบรรณทำหน้าที่ควบคุมการประกอบวิชาชีพ วิศวกรรม และให้รัฐมนตรีทำหน้าที่กำกับดูแลการดำเนินการของสภาวิศวกร
ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี
เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ๐๒๐๔/๑๓๒๐๖ ลงวันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๔๑
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๑๔๒/๒๕๔๑ ลงวันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๔๑
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นายศิโรจน์ แพทย์พันธุ์  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( / ) เป็น        ( ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล การกำหนดให้สภาวิศวกรมีรายได้จากเงินอุดหนุนจากงบประมาณแผ่นดิน ทำให้รัฐต้อง จัดสรรงบประมาณของแผ่นดินมาดำเนินการ

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๓๒ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๔๑
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๓๔ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๑ ตุลาคม ๒๕๔๑
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๗ คน

  พิจารณาร่างพระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายคุโณดม ธรรมาภรณ์พิลาศ ๒. นายเฉลิมพล สนิทวงศ์ชัย
๓. นายชยานันท์ เกตุเมฆ ๔. นายชาญชัย ปทุมารักษ์
๕. นายณรงค์ ภูอิทธิวงศ์ ๖. นายต่อตระกูล ยมนาค
๗. นายถวิล ไพรสณฑ์ ๘. นายทรงพล โกวิทศิริกุล
๙. นายทรงศักดิ์ เกียรติสุข ๑๐. นายธรรมนูญ มงคล
๑๑. นายนคร สาครสินธุ์ ๑๒. นายบุญมาก ศิริเนาวกุล
๑๓. นายประกอบ จิรกิติ ๑๔. นายประเทือง วิจารณ์ปรีชา
๑๕. นายปรัชญา สูตะบุตร ๑๖. นายมติ ตั้งพานิช
๑๗. นายมานะ มหาสุวีระชัย ๑๘. นายรุ่งเรือง พิทยศิริ
๑๙. นายวรวิทย์ เลิศลักษณา ๒๐. นายวิลาศ จันทร์พิทักษ์
๒๑. นายสมปอง อัครปัญญาธร ๒๒. ว่าที่พันตรี สรชาติ สุวรรณพรหม
๒๓. รองศาสตราจารย์สุขุม สุขพันธ์โพธาราม ๒๔. นายสุทัศน์ สุทันกิตระ
๒๕. นายสุธี กรกมลพฤกษ์ ๒๖. รองศาสตราจารย์สุนทร บุญญธิการ
๒๗. ศาสตราจารย์อรุณ ชัยเสรี
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๓๖๖ ลงวันที่ ๒๒ ตุลาคม ๒๕๔๑
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่ ๒๘ ตุลาคม ๒๕๔๑
  ใช้ร่างพระราชบัญญัติของ คณะรัฐมนตรี เป็นหลักในการพิจารณา

  ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกัน
  เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๑๔๒/๒๕๔๑ ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี (ร่างฯหลัก)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๙๙/๒๕๔๐ ผู้เสนอ นายประกอบ  จิรกิติ (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๐๗/๒๕๔๑ ผู้เสนอ นายธีระวัฒน์  ศิริวันสาณฑ์ (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๑๖๕/๒๕๔๑ ผู้เสนอ นายสุวัจน์  ลิปตพัลลภ (ร่างฯทำนองเดียวกัน)

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๙ มีนาคม ๒๕๔๒
  ผลการพิจารณา ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๑๒๑๙/๒๕๔๒      ลงวันที่ ๙ มีนาคม ๒๕๔๒

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๓๑ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๔๒
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๓๗ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๗ เมษายน ๒๕๔๒
  มติ ( / ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ

หนังสือยืนยันไปยังวุฒิสภา ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๒๙๙๔ ลงวันที่ ๘ เมษายน ๒๕๔๒

การพิจารณาของวุฒิสภา
  เลขทะเบียนรับ (กองกลาง สว.) ๐๐๓๑/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๘ เมษายน ๒๕๔๒
  เลขทะเบียนรับ (กองการประชุม สว.) ๐๐๗๕/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๘ เมษายน ๒๕๔๒
  เลขทะเบียนรับ (ฝ่ายญัตติ สว.) ๐๐๓๒/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๘ เมษายน ๒๕๔๒
  พิจารณาให้เสร็จภายใน ๓๐ วัน         ครบกำหนดวันที่ ๘ พฤษภาคม ๒๕๔๒
  นิติกรฝ่ายวุฒิสภา นายสราวุธ สุธราพันธ์

การพิจารณาก่อนรับหลักการของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) ให้ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ     ( / ) ไม่ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ
การพิจารณาวาระที่ ๑ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๑๙ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๙ เมษายน ๒๕๔๒
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๙ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๙ เมษายน ๒๕๔๒
  มติ ( / ) เห็นชอบด้วยกับหลักการ        ( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับหลักการ

ส่งคณะกรรมาธิการ
  ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๖ คน
  วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายเกษม กุหลาบแก้ว ๒. นายชัยฤกษ์ ดิษฐอำนาจ
๓. นายชูวงศ์ ฉายะบุตร ๔. นายโชคชัย อักษรนันท์
๕. นายธีรพจน์ จรูญศรี ๖. นายนิพนธ์ วิสิษฐยุทธศาสตร์
๗. คุณหญิงนิรมล สุริยสัตย์ ๘. นายปรัชญา สูตะบุตร
๙. นายประชัย เลี่ยวไพรัตน์ ๑๐. นายประมูล เพชรสว่าง
๑๑. นายประเสริฐ สมะลาภา ๑๒. นายปรีณะ ลีพัฒนะพันธ์
๑๓. นายไพบูลย์ ช่างเรียน ๑๔. นายไพบูลย์ ลิมปพยอม
๑๕. พลเอก ไพบูลย์ เอมพันธุ์ ๑๖. นายไพศาล กุมาลย์วิสัย
๑๗. นายไพศิษฐ์ พิพัฒนกุล ๑๘. นายมนตรี จุฬาลักษณะ
๑๙. นายมนัส สุขสมาน ๒๐. นายวรวิทย์ เลิศลักษณา
๒๑. นายวิจิตร ศรีสอ้าน ๒๒. นายสมศักดิ์ เลิศบรรณพงษ์
๒๓. นายโสภณ สุภาพงษ์ ๒๔. นายอมร จันทรสมบูรณ์
๒๕. นายอรุณ ชัยเสรี ๒๖. นายอารีย์ วงศ์อารยะ

  หนังสือยืนยันมติ ที่ สว ๐๐๐๘ / ว ๙๙๒ ลงวันที่ ๙ เมษายน ๒๕๔๒
  กำหนดการแปรญัตติ วัน
  การขอขยายระยะเวลาเป็นกรณีพิเศษ
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๑ ๓๐ วัน
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๒ วัน
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๓ วัน

  สิ้นสุดวันที่ ๑๖ เมษายน ๒๕๔๒

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๔๒
  ผลการพิจารณา               ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๙/(ร ๙๐) ลงวันที่ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๔๒

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๗ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๖ สิงหาคม ๒๕๔๒
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๗ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๖ สิงหาคม ๒๕๔๒
  มติ ( ) เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( / ) แก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ

  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๑๙๖๑ (ด่วนมาก) ลงวันที่ ๖ สิงหาคม ๒๕๔๒

กรณีวุฒิสภาลงมติแก้ไขเพิ่มเติม
สภาผู้แทนราษฏรเห็นว่ามิได้เป็นการแแก้ไขเพิ่มเติมในสาระสำคัญ และเห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม
  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๑๙๖๑ (ด่วนมาก) ลงวันที่ ๖ สิงหาคม ๒๕๔๒
  สภาผู้แทนราษฎรรับที่ ๒๙๕/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๖ สิงหาคม ๒๕๔๒
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๑๓ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๔๒  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๒๕ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๔๒  
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม ( ) ไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม

สถานภาพของร่างฯ เห็นชอบประกาศใช้เป็นกฎหมาย