สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร (ฉบับที่..) พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล เป็นการแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร โดยที่สภาพการณ์ในปัจจุบัน ประเทศได้มีความเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว มีการขยายตัวของเมืองในด้านการก่อสร้าง อาคารเพิ่มมากขึ้น กฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคารที่ใช้บังคับอยู่ไม่เหมาะสมและสอด คล้องกับสภาพการณ์ปัจจุบัน จึงสมควรกำหนดมาตรการในด้านการควบคุมเกี่ยวกับความ มั่นคงแข็งแรง ความปลอดภัย การป้องกันอัคคีภัย การสาธารสุข การรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม เป็นต้น อีกทั้งกฎหมายว่าด้วยการป้องกันภยันตรายอันเกิดแต่การเล่นมหรสพ ได้ใช้บังคับมานานแล้วไม่เหมาะสมกับสภาพการณ์ในปัจจุบันเช่นกัน โดยเฉพาะโรงมหรสพก็เป็น อาคารอย่างหนึ่ง สมควรที่จะนำหลักการเกี่ยวกับการอนุญาตให้ใช้โรงมหรสพมาบัญญัติรวม เป็นฉบับเดียวกันกับกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคารเพื่อสะดวกต่อการใช้กฎหมาย โดย แก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ ยกเลิกพระราชบัญญัติป้องกัน ภยันตรายอันเกิดแต่การเล่นมหรสพ พระพุทธศักราช ๒๔๖๔ และกำหนดหลักเกณฑ์การ ควบคุมการใช้อาคารเป็นโรงมหรสพไว้ในพระราชบัญญัตินี้ กำหนดให้ใช้บังคับพระราช บัญญัตินี้ในเขตของผังเมืองรวมตามกฎหมายว่าด้วยการผังเมืองหรือในท้องที่ที่อาคารหรือ ส่วนหนึ่งส่วนใดของอาคารที่ใช้เป็นโรงมหรสพตั้งอยู่โดยไม่ต้องตราเป็นพระราชกฤษฎีกา เพิ่มบทนิยามคำว่า "อาคารสูง" "อาคารขนาดใหญ่พิเศษ" "โรงมหรสพ" "ผู้ครอบครองอาคาร" และ "ผู้ตรวจสอบ" และปรับปรุงบทนิยามคำว่า "นายช่าง" กำหนดให้รัฐมนตรีโดยคำแนะนำ ของคณะกรรมการควบคุมอาคาร มีอำนาจออกกฎกระทรวงกำหนดรายละเอียดในเรื่องต่าง ๆ ได้เพิ่มขึ้น และกำหนดให้มีการออกกฎกระทรวงกำหนดให้สิ่งที่สร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นเครื่องเล่น ในสวนสนุกเป็นอาคารได้ ปรับปรุงอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ กำหนดมาตรการป้องกัน การใช้อุปกรณ์ ปรับปรุงบทลงโทษ กำหนดอัตราค่าธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบกิจการ โรงมหรสพและการต่ออายุใบอนุญาต
ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี
เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ๐๒๐๔/๑๒๗๖๒ ลงวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๔๑
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๑๓๙/๒๕๔๑ ลงวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๔๑
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นายนพคุณ นพรัตน์  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( ) เป็น        ( / ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล ในการกรณีของค่าปรับที่เปรียบเทียบปรับตามพระราชบัญญัตินี้ให้ตกเป็นของราชการส่วน ท้องถิ่น โดยไม่ต้องนำส่งเป็นรายได้ของแผ่นดินนั้น มิใช่เป็นรายได้ที่เก็บได้แน่นอน หากแต่ ถ้ามีกรณีเกิดให้มีการเปรียบเทียบปรับขึ้น รัฐจีงมีรายได้ในส่วนนั้น หากไม่มีคดีเกิดขึ้นก็ไม่ ทำให้รับมีรายได้แต่อย่างใด ส่วนอัตราค่าธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบกิจการโรงมหรสพ และการต่อายุใบอนุญานั้นก็มีการเก็บอยู่แล้ว แต่บัญญัติขึ้นใหม่ให้สอดคล้องเหมาะสมกับ สภาพการณ์ในปัจจุบันเท่านั้น ไม่ส่งผลกระทบต่องบประมาณรายจ่ายของรัฐแต่อย่างใด

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๓๐ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๔๑
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๒๗ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๓ มีนาคม ๒๕๔๒
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๗ คน

  พิจารณาร่างพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายกวี สุภธีระ ๒. นายชัย ชิดชอบ
๓. นายชุมพล กาญจนะ ๔. นายชูชาติ สุทธิพันธ์
๕. นายณรงค์ ภูอิทธิวงศ์ ๖. นายถวิล ไพรสณฑ์
๗. นายธนเทพ ทิมสุวรรณ ๘. นายธรรมนูญ มงคล
๙. นายเธียร มโนหรทัต ๑๐. นายบุญมาก ศิริเนาวกุล
๑๑. รองศาสตราจารย์บุญศรี มีวงศ์อุโฆษ ๑๒. นายประกอบ สังข์โต
๑๓. นายประเทือง ปานลักษณ์ ๑๔. นายประเทือง วิจารณ์ปรีชา
๑๕. นายพินิจ จารุสมบัติ ๑๖. นายมติ ตั้งพานิช
๑๗. นายมานะ มหาสุวีระชัย ๑๘. นายมาโนชญ์ วิชัยกุล
๑๙. นายวีระ ปัทมสิริวัฒน์ ๒๐. นายวีระกร คำประกอบ
๒๑. นายสมเกียรติ ฉันทวานิช ๒๒. นายสมบูรณ์ บริสุทธิ์
๒๓. นายสมศักดิ์ เลิศบรรณพงษ์ ๒๔. นายสุจินต์ พฤกษ์อุดม
๒๕. นายสุธี กรกมลพฤกษ์ ๒๖. นายอำนวย คลังผา
๒๗. นายอุดม ไกรวัตนุสสรณ์
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๕๖ ลงวันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๔๒
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๔๒

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๔๒
  ผลการพิจารณา ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๖๒๙๖/๒๕๔๒      ลงวันที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๔๒

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๒๙ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๔๒
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๒๙ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๔๒
  มติ ( / ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ

หนังสือยืนยันไปยังวุฒิสภา ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๘๑๒๕ ลงวันที่ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๔๒

การพิจารณาของวุฒิสภา
  เลขทะเบียนรับ (กองกลาง สว.) ๐๐๗๕/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๔๒
  เลขทะเบียนรับ (กองการประชุม สว.) ๐๑๗๙/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๔๒
  เลขทะเบียนรับ (ฝ่ายญัตติ สว.) ๐๐๘๑/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๔๒
  พิจารณาให้เสร็จภายใน ๖๐ วัน         ครบกำหนดวันที่ ๑๓ ธันวาคม ๒๕๔๒
  นิติกรฝ่ายวุฒิสภา นางวัชรี สินธวานุวัฒน์

การพิจารณาก่อนรับหลักการของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) ให้ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ     ( / ) ไม่ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ
การพิจารณาวาระที่ ๑ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๒ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๔๒
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๒ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๔๒
  มติ ( / ) เห็นชอบด้วยกับหลักการ        ( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับหลักการ

ส่งคณะกรรมาธิการ
  ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๐ คน
  วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายจิม พันธุมโกมล ๒. นายชูวงศ์ ฉายะบุตร
๓. นายธีรพจน์ จรูญศรี ๔. คุณหญิงนันทกา สุประภาตะนันทน์
๕. นายนิพนธ์ วิสิษฐยุทธศาสตร์ ๖. นายประสิทธิ์ โฆวิไลกูล
๗. นายประเสริฐ สมะลาภา ๘. นายพงษ์พันธุ์ นุตราวงศ์
๙. นายพชร ยุติธรรมดำรง ๑๐. นายพิชัย วาศนาส่ง
๑๑. นายไพบูลย์ ช่างเรียน ๑๒. นายมติ ตั้งพานิช
๑๓. นายสมพงศ์ ศรียะพันธุ์ ๑๔. นายสมศักดิ์ เลิศบรรณพงษ์
๑๕. นายสุจินต์ จินนายน ๑๖. นายสุรพล พงษ์ไทยพัฒน์
๑๗. นายสุวรรณ ปัญญาภาส ๑๘. นายอมร จันทรสมบูรณ์
๑๙. นายอรุณ ชัยเสรี ๒๐. นายอารีย์ วงศ์อารยะ

  หนังสือยืนยันมติ ที่ สว ๐๐๐๘ / ลงวันที่
  กำหนดการแปรญัตติ วัน
  สิ้นสุดวันที่ ๓ ธันวาคม ๒๕๔๒

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๒๘ มกราคม ๒๕๔๓
  ผลการพิจารณา               ( / ) มีข้อสังเกต        ( ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๙/(ร๒๒) ลงวันที่ ๒๘ มกราคม ๒๕๔๓

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๑๐ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๓
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๐ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๓
  มติ ( ) เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( / ) แก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ

กรณีมีข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวุฒิสภา
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๐ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๓
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับข้อสังเกต       ( ) ไม่เห็นด้วยกับข้อสังเกต
  หนังสือส่งข้อสังเกตของกรรมาธิการไปยังเลขาธิการฯ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๓๗๒ ลงวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๓

  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๓๖๖ (ด่วนมาก) ลงวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๓

กรณีวุฒิสภาลงมติแก้ไขเพิ่มเติม
สภาผู้แทนราษฎรเห็นว่าเป็นการแก้ไขเพิ่มเติมในสาระสำคัญหรือกรณีอื่น และไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม
  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๓๖๖ (ด่วนมาก) ลงวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๓
  สภาผู้แทนราษฎรรับที่ ๔๕/๒๕๔๓ ลงวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๒๒ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๓  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๒๒ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๓  
  มติ ( ) เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม ( / ) ไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม

  สภาผู้แทนราษฎรกำหนดกรรมาธิการร่วมกันฝ่ายละ ๑๐ คน
  เพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการฝ่ายสภาผู้แทนราษฎรประกอบด้วย
 
๑. นายถวิล ไพรสณฑ์ ๒. นายประกอบ จิรกิติ
๓. นายประเทือง วิจารณ์ปรีชา ๔. นายพินิจ จารุสมบัติ
๕. นายมติ ตั้งพานิช ๖. นายมานะ มหาสุวีระชัย
๗. นายมาโนชญ์ วิชัยกุล ๘. นายสุนัย จุลพงศธร
๙. นายสุรพร ดนัยตั้งตระกูล ๑๐. นายอุดม ไกรวัตนุสสรณ์

  หนังสือสภาผู้แทนราษฎรแจ้งจำนวนกรรมาธิการร่วมกัน ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๑๒๘๕ ลงวันที่ ๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๓
  วุฒิสภารับที่ ๙๑/๒๕๔๓ ลงวันที่ ๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๓

  เพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการฝ่ายวุฒิสภาประกอบด้วย
 
๑. นายชูวงศ์ ฉายะบุตร ๒. คุณหญิงนันทกา สุประภาตะนันทน์
๓. นายนิพนธ์ วิสิษฐยุทธศาสตร์ ๔. นายพชร ยุติธรรมดำรง
๕. นายพิชัย วาศนาส่ง ๖. นายวรวิทย์ เลิศลักษณา
๗. นายสุวรรณ ปัญญาภาส ๘. นายอมร จันทรสมบูรณ์
๙. นายอรุณ ชัยเสรี ๑๐. นายอารีย์ วงศ์อารยะ

  หนังสือวุฒิสภาแจ้งการตั้งกรรมาธิการร่วมกัน ที่ สว ๐๐๐๘ / ๕๙๐ ลงวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๓

  คณะกรรมาธิการร่วมกันพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวัน ๙ มีนาคม ๒๕๔๓  
  ผลการพิจารณา ( / ) มีข้อสังเกต       ( ) ไม่มีข้อสังเกต  
หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการร่วมกันไปยังสภาผู้แทนราษฎร ๑๐๖๒/๒๕๔๓ ลงวันที่ ๙ มีนาคม ๒๕๔๓

ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๓๐ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๔๓  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๓๐ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๔๓
  มติ ( / ) เห็นชอบ       ( ) ไม่เห็นชอบ  
  หนังสือสภาผู้แทนราษฎรแจ้งกลับไปยังวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๘ / ๒๑๐๙ ลงวันที่ ๑๖ มีนาคม ๒๕๔๓

ที่ประชุมวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๑๖ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๔๓  
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๖ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๔๓
  มติ ( / ) เห็นชอบ       ( ) ไม่เห็นชอบ  
  หนังสือแจ้งจากวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๘ / ๙๔๔ ลงวันที่ ๒๐ มีนาคม ๒๕๔๓

ร่างพระราชบัญญัติได้รับความเห็นชอบของรัฐสภา
  หนังสือยืนยันไปยังเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๒๓๔๕ ลงวันที่ ๒๗ มีนาคม ๒๕๔๓
  ประกาศราชกิจจานุเบกษา ประเภท ก ฉบับกฤษฎีกา
  เล่มที่ ๑๑๗ ตอน ๔๒ก หน้าที่ - วันที่ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๔๓ พุทธศักราช ๒๕๔๓

สถานภาพของร่างฯ เห็นชอบประกาศใช้เป็นกฎหมาย