สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่..) พ.ศ. .... (ขายฝาก)
หลักการและเหตุผล แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 492 มาตรา 496 และเพิ่มวรรคสองของมาตรา 499 แห่งประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์ เนื่องจากประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในเรื่องขายฝากมีบทบัญญัติยังไม่เหมาะสม เป็นเหตุให้มีการเอาเปรียบผู้ขายฝากโดยการกำหนดสินไถ่ที่สูงเกินควรเพื่อหลีกเลี่ยงกฎหมายห้าม เรียกดอกเบี้ยเกินอัตรา รวมทั้งในกรณีที่ถึงกำหนดเวลาไถ่ผู้ซื้อมักจะหลีกเลี่ยงไม่ยอมให้มีการไถ่ จนเป็นเหตุให้ผู้ขายฝากต้องสูญเสียกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินไปโดยไม่ชอบธรรม นอกจากนี้ เห็นควร ปรับปรุงระยะเวลาในการใช้สิทธิไถ่ในสัญญาขายฝากให้เหมาะสมยิ่งขึ้น
ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี
เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ๐๒๐๔/๙๖๔๐ ลงวันที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๔๐
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๑๓๙/๒๕๔๐ ลงวันที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๔๐
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นางสาวสุภัตรา วรวุฒิธีรกุล  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( ) เป็น        ( / ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล เป็นการแก้ไขเรื่องบทบัญญัติการขายฝากให้มีความเหมาะสม รัฐไม่ต้องจัดสรรงบประมาณ รายจ่ายของแผ่นดินมาดำเนินการ

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๑๕ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันพุธที่ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๔๐
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๑๕ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันพุธที่ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๔๐
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ
    คะแนนเสียง เอกฉันท์

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๗ คน

  วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายกู้เกียรติ สุนทรบุระ ๒. นายก่ำชุง ประภากรแก้วรัตน์
๓. นายจรัญ ภักดีธนากุล ๔. นางโฉมศรี อารยะศิริ
๕. นายชัยวัฒน์ วงศ์วัฒนศานต์ ๖. นายชาญชัย แสงลุน
๗. นายชาญณรงค์ ปราณีจิตต์ ๘. นายไชยา พรหมา
๙. นายถาวร เสนเนียม ๑๐. นายธานี สุโชดายน
๑๑. นายนิคม สายสุวรรณ ๑๒. นายนิพิฎฐ์ อินทรสมบัติ
๑๓. นายนิรมิต สุจารี ๑๔. นายปรีชา สุวรรณทัต
๑๕. นายพิพัฒน์ หาญพิพัฒน์พานิชย์ ๑๖. นายพีรพันธุ์ พาลุสุข
๑๗. นายระวี หิรัญโชติ ๑๘. นายวิเชียร คันฉ่อง
๑๙. นายวิทยา แก้วภราดัย ๒๐. นางศรีนวล ศรีตรัย
๒๑. นายศักดา คงเพชร ๒๒. นายสงวน ลิ่วมโนมนต์
๒๓. นายสมบัติ ศรีสุรินทร์ ๒๔. นายสุเทพ ดีบุญมี ณ ชุมแพ
๒๕. นายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์ ๒๖. นายสุวโรช พะลัง
๒๗. นางอรดี สุทธศรี
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๓๖๑ ลงวันที่ ๒๑ สิงหาคม ๒๕๔๐
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๔๐
  ใช้ร่างพระราชบัญญัติของ คณะรัฐมนตรี เป็นหลักในการพิจารณา

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๔๐
  ผลการพิจารณา ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๔๑๐๙/๒๕๔๐      ลงวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๔๐

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๑ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๔๐
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๑ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๔๐
  มติ ( / ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ
  คะแนนเสียง เอกฉันท์

หนังสือยืนยันไปยังวุฒิสภา ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๑๐๑๘๐ ลงวันที่ ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๔๐

การพิจารณาของวุฒิสภา
  เลขทะเบียนรับ (กองกลาง สว.) ๐๐๓๕/๒๕๔๐ ลงวันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๔๐
  เลขทะเบียนรับ (กองการประชุม สว.) ๐๓๒๙/๒๕๔๐ ลงวันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๔๐
  เลขทะเบียนรับ (ฝ่ายญัตติ สว.) ๐๐๕๑/๒๕๔๐ ลงวันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๔๐
  พิจารณาให้เสร็จภายใน ๖๐ วัน         ครบกำหนดวันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๔๑
  นิติกรฝ่ายวุฒิสภา นายสราวุธ สุธราพันธ์

การพิจารณาก่อนรับหลักการของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) ให้ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ     ( / ) ไม่ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ
การพิจารณาวาระที่ ๑ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๒ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๔๐
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๒ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๔๐
  มติ ( / ) เห็นชอบด้วยกับหลักการ        ( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับหลักการ

ส่งคณะกรรมาธิการ
  ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( / ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน คน
  คณะกรรมาธิการการบริหารและการยุติธรรม
คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายสมลักษณ์ อัศวเหม ๒. นายสรรเสริญ ไกรจิตติ
๓. นายไพศาล กุมาลย์วิสัย ๔. นายเผ่าเทพ อุปการนิติเกษตร
๕. นายเกษม สรศักดิ์เกษม ๖. นายกิรินทร์ ชัชวาลวงศ์
๗. นายกรพจน์ อัศวินวิจิตร ๘. นายพูนศักดิ์ วรรณพงษ์
๙. นายรัตน์ ศรีไกรวิน ๑๐. พลตำรวจเอก วสิษฐ เดชกุญชร
๑๑. นายวิษณุ เครืองาม ๑๒. นายวีระชัย สูตรสุวรรณ
๑๓. พลเอก ศิรินทร์ ธูปกล่ำ ๑๔. พลอากาศเอก สมศักดิ์ เวสุวรรณ์
๑๕. พลเรือโท สำราญ อ่ำสำอางค์ ๑๖. นายสุชาติ ไตรประสิทธิ์
๑๗. นายอุดล บุญประกอบ

  หนังสือยืนยันมติ ที่ สว ๐๐๐๘ / ๔๒๗๓ ลงวันที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๔๐
  กำหนดการแปรญัตติ วัน
  สิ้นสุดวันที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๔๐

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๔๐
  ผลการพิจารณา               ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๙/(ร ๘๕) ลงวันที่ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๔๐

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๑๑ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันจันทร์ที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๔๓
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๑ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันจันทร์ที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๔๓
  มติ ( ) เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( / ) แก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ

  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๑๙๔ ลงวันที่ ๒๓ มกราคม ๒๕๔๑

กรณีวุฒิสภาลงมติแก้ไขเพิ่มเติม
สภาผู้แทนราษฎรเห็นว่าเป็นการแก้ไขเพิ่มเติมในสาระสำคัญหรือกรณีอื่น และไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม
  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๑๙๔ ลงวันที่ ๒๓ มกราคม ๒๕๔๑
  สภาผู้แทนราษฎรรับที่ ๗๒๑/๒๕๔๑ ลงวันที่ ๒๓ มกราคม ๒๕๔๑
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๑๘ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๑  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๑๘ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๑  
  มติ ( ) เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม ( / ) ไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม

  สภาผู้แทนราษฎรกำหนดกรรมาธิการร่วมกันฝ่ายละ ๑๐ คน
  คณะกรรมาธิการร่วมกันเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการฝ่ายสภาผู้แทนราษฎรประกอบด้วย
 
๑. นายชัย ชิดชอบ ๒. นายชาญณรงค์ ปราณีจิตต์
๓. นายโชคสมาน สีลาวงษ์ ๔. นายธนเทพ ทิมสุวรรณ
๕. นายปรีชา สุวรรณทัต ๖. นายพินิจ จันทรสุรินทร์
๗. นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค ๘. นายวัชรินทร์ ศรีสถาพร
๙. นายสุเทพ ดีบุญมี ณ ชุมแพ ๑๐. นายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์

  หนังสือสภาผู้แทนราษฎรแจ้งจำนวนกรรมาธิการร่วมกัน ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๘๖๗ ลงวันที่ ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๑
  วุฒิสภารับที่ ๔๓๗ ลงวันที่ ๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๑

  คณะกรรมาธิการร่วมกันเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการฝ่ายวุฒิสภาประกอบด้วย
 
๑. นายเกษม สรศักดิ์เกษม ๒. นายกิรินทร์ ชัชวาลวงศ์
๓. นายพูนศักดิ์ วรรณพงษ์ ๔. นายไพศาล กุมาลย์วิสัย
๕. นายรัตน์ ศรีไกรวิน ๖. พลตำรวจเอก วสิษฐ เดชกุญชร
๗. นายวีระชัย สูตรสุวรรณ ๘. นายสรรเสริญ ไกรจิตติ
๙. นายสุชาติ ไตรประสิทธิ์ ๑๐. นายสุประดิษฐ์ หุตะสิงห์

  หนังสือวุฒิสภาแจ้งการตั้งกรรมาธิการร่วมกัน ที่ สว ๐๐๐๘ / ลงวันที่

  คณะกรรมาธิการร่วมกันพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวัน ๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๑  
  ผลการพิจารณา ( ) มีข้อสังเกต       ( / ) ไม่มีข้อสังเกต  
หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการร่วมกันไปยังสภาผู้แทนราษฎร ลงวันที่

ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๒๕ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๔ มีนาคม ๒๕๔๑  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๒๕ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๔ มีนาคม ๒๕๔๑
  มติ ( / ) เห็นชอบ       ( ) ไม่เห็นชอบ  
  หนังสือสภาผู้แทนราษฎรแจ้งกลับไปยังวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๘ / ลงวันที่

ที่ประชุมวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๑๐ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๑  
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๐ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๑
  มติ ( / ) เห็นชอบ       ( ) ไม่เห็นชอบ  
  หนังสือแจ้งจากวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๘ / ลงวันที่

ร่างพระราชบัญญัติได้รับความเห็นชอบของรัฐสภา
  หนังสือยืนยันไปยังเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๑๙๗๕ ลงวันที่ ๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๑
  ประกาศราชกิจจานุเบกษา ประเภท ก ฉบับกฤษฎีกา
  เล่มที่ ๑๑๕ ตอน ๑๘ ก หน้าที่ - วันที่ ๙ เมษายน ๒๕๔๑ พุทธศักราช ๒๕๔๑

สถานภาพของร่างฯ เห็นชอบประกาศใช้เป็นกฎหมาย