สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติผู้ตรวจการรัฐสภา พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล ให้มีกฎหมายว่าด้วยผู้ตรวจการรัฐสภา ตามรัฐธรรมนูญมาตรา ๑๖๒ ทวิ การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขในระบบรัฐสภา ฝ่ายนิติบัญญัติในการปฏิบัติหน้าที่เป็นผู้แทนของ ปวงชนชาวไทย นอกเหนือจากการตรวจสอบถ่วงดุลย์อำนาจฝ่ายบริหารประการหนึ่งแล้ว ยังมีบทบาท หน้าที่ในการแก้ไขปัญหาความทุกข์ร้อนของประชาชนอันเนื่องจากการปฏิบัติหน้าที่อย่างไม่เป็นธรรม ของเจ้าหน้าที่ของรัฐและฝ่ายบริหาร ในการนี้สมควรมีผู้ตรวจการรัฐสภา เป็นกลไกสำหรับฝ่ายนิติบัญญัติ ในการทำหน้าที่บรรเทาแก้ไขความทุกข์ร้อนของประชาชน ด้วยการพิจารณาดำเนินการในเรื่องร้องทุกข์ ของประชาชนแล้วทำความเห็นหรือข้อเสนอแนะต่อหน่วยงานของรัฐ หรือผู้บังคับบัญชาของหน่วยงานเพื่อ ดำเนินการแก้ไขอันเป็นการเสนอแนะความเห็นเพื่อให้เกิดความชอบธรรมในสังคมขึ้น บทพื้นฐานการปฏิบัติ งานด้วยความเป็นอิสระ ความเป็นกลาง ความชอบธรรมและความมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับบทบัญญัติ มาตรา ๑๖๒ ทวิ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๕) พุทธศักราช ๒๕๓๘
ผู้เสนอ
๑. นางสาวธารทอง ทองสวัสดิ์
พรรค ชาติพัฒนา
ผู้รับรอง
๑. นายธวัชชัย อนามพงษ์ ๒. นางรัตนา จงสุทธนามณี
๓. นายทวีศักดิ์ สุภาศรี ๔. นายประทวน เขียวฤทธิ์
๕. นายสวัสดิ์ คำวงษา ๖. นายประทีป กรีฑาเวช
๗. นายเกียรติ ศรีสุรินทร์ ๘. นายพงษ์อุดม ตรีสุขี
๙. นายวัฒนา เมืองสุข ๑๐. นายสิทธิชัย โควสุรัตน์
๑๑. นายกนก ลิ้มตระกูล ๑๒. นายบุญช่วย ภู่จีนาพันธุ์
๑๓. นายสกุล ศรีพรหม ๑๔. นายณรงค์ ภูอิทธิวงศ์
๑๕. นายปิยะ ปิตุเตชะ ๑๖. นายสมศักดิ์ พันธ์เกษม
๑๗. นายสุนัย จุลพงศธร ๑๘. นายพินิจ จันทรสุรินทร์
๑๙. นายประชาธิปไตย คำสิงห์นอก ๒๐. นายยงยศ อรุณเวสสะเศรษฐ

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๓ กรกฎาคม ๒๕๔๑
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๑๓๕/๒๕๔๐ ลงวันที่ ๓ กรกฎาคม ๒๕๔๐
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นายวิรัตน์ โกศล  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( / ) เป็น        ( ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล การกำหนดให้ผู้ตรวจการรัฐสภาได้รับเงินเดือนหรือเงินประจำตำแหน่ง และให้มีสำนักงานผู้ตรวจการรัฐสภา ทำให้รัฐต้องจัดสรรงบประมาณรายจ่ายของแผ่นดินมาดำเนินการ และมีการจัดตั้งหน่วยงานอันมีผลให้ต้อง ใช้งบประมาณรายจ่ายของแผ่นดินเพิ่มขึ้น

กรณีร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินของสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ลงวันที่
    หนังสือแจ้งจากผู้เสนอ (กรณีคัดค้านร่าง) ที่ ลงวันที่
                 ( ) คัดค้าน    ( ) ไม่คัดค้าน     ( ) ไม่แจ้งคัดค้านภายใน 7 วัน
    หนังสือส่งให้นายกรัฐมนตรีรับรอง ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๕๘๕๐ ลงวันที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๔๐
    หนังสือแจ้งเหตุขัดข้องจากเลขาธิการนายกฯ ที่ นร ลงวันที่
    หนังสือนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๐๑๑๓/๑๔๑๓๐ ลงวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๔๐
                 ( / ) รับรอง    ( ) ไม่รับรอง
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ลงวันที่

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๗ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันพุธที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๔๐
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๑๓ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันพุธที่ ๑๓ สิงหาคม ๒๕๔๐
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๗ คน

  คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติผู้ตรวจการรัฐสภา พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง ๒. นายเจริญ การุญ
๓. นายเชาวน์วัศ สุดลาภา ๔. นางสาวธารทอง ทองสวัสดิ์
๕. นายธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์ ๖. นายนพดล ปัทมะ
๗. นายบุญเกิด หิรัญคำ ๘. นายพินิจ จันทรสุรินทร์
๙. นายพินิต อารยะศิริ ๑๐. นายพิศาล ไชยชาญ
๑๑. ศาสตราจารย์ไพศิษฐ์ พิพัฒนกุล ๑๒. นายโภคิน พลกุล
๑๓. นายมานะ คูสกุล ๑๔. นายวัลลภ สุปริยศิลป์
๑๕. นายวิทยา แก้วภราดัย ๑๖. นายวิรัตน์ ตยางคนนท์
๑๗. พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์ ๑๘. นายวิษณุ เครืองาม
๑๙. ว่าที่พันตรี สรชาติ สุวรรณพรหม ๒๐. นายสานิต ว่องสัธนพงษ์
๒๑. นายสืบแสง พรหมบุญ ๒๒. ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร
๒๓. นายสุรศักดิ์ เทียมประเสริฐ ๒๔. นายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์
๒๕. นายองอาจ คล้ามไพบูลย์ ๒๖. นายอลงกรณ์ พลบุตร
๒๗. นายอัชพร จารุจินดา
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๓๔๔ ลงวันที่ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๔๐
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๔๐
  ใช้ร่างพระราชบัญญัติของ คณะรัฐมนตรี เป็นหลักในการพิจารณา

  ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกัน
  เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๘๙/๒๕๔๐ ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี (ร่างฯหลัก)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๑๕/๒๕๓๙ ผู้เสนอ พลตำรวจโท วิโรจน์  เปาอินทร์ (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๒๐/๒๕๔๐ ผู้เสนอ นายนพดล  ปัทมะ (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๑๓๐/๒๕๔๐ ผู้เสนอ ร้อยโท กุเทพ  ใสกระจ่าง (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๑๓๕/๒๕๔๐ ผู้เสนอ นางสาวธารทอง  ทองสวัสดิ์ (ร่างฯทำนองเดียวกัน)

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๔๑
  ผลการพิจารณา ( / ) มีข้อสังเกต        ( ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๑๗.๑๓/๑๑๗๑      ลงวันที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๔๑

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๑๐ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๔๑
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๑๐ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๔๑
  มติ ( / ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ
  คะแนนเสียง เห็นชอบ ๒๒๖ ไม่เห็นชอบ - งดออกเสียง ๗ ไม่ลงคะแนน -

กรณีมีข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการ
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๑๐ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๔๑
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับข้อสังเกต     ( ) ไม่เห็นด้วยกับข้อสังเกต

หนังสือยืนยันไปยังวุฒิสภา ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๕๔๕๕ ลงวันที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๔๑

การพิจารณาของวุฒิสภา
  เลขทะเบียนรับ (กองกลาง สว.) ๐๐๑๙/๒๕๔๑ ลงวันที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๔๑
  เลขทะเบียนรับ (กองการประชุม สว.) ๐๒๕๑/๒๕๔๑ ลงวันที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๔๑
  เลขทะเบียนรับ (ฝ่ายญัตติ สว.) ๐๐๒๑/๒๕๔๑ ลงวันที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๔๑
  พิจารณาให้เสร็จภายใน ๓๐ วัน         ครบกำหนดวันที่ ๓๐ สิงหาคม ๒๕๔๑
  นิติกรฝ่ายวุฒิสภา นายรพีพงศ์ ภูชฎาภิรมย์

การพิจารณาก่อนรับหลักการของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) ให้ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ     ( / ) ไม่ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ
การพิจารณาวาระที่ ๑ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๕ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๔๑
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๕ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๔๑
  มติ ( / ) เห็นชอบด้วยกับหลักการ        ( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับหลักการ

ส่งคณะกรรมาธิการ
  ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๒ คน
  พิจารณาร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายกำธร อุดมฤทธิรุจ ๒. นางกีระณา สุมาวงศ์
๓. นายเกษม สุวรรณกุล ๔. นายชัยเชต สุนทรพิพิธ
๕. นายชูเกียรติ รัตนชัยชาญ ๖. นายธีรยุทธ์ หล่อเลิศรัตน์
๗. นายนรนิติ เศรษฐบุตร ๘. คุณหญิงนันทกา สุประภาตะนันทน์
๙. นายนิพนธ์ วิสิษฐยุทธศาสตร์ ๑๐. นายบวรศักดิ์ อุวรรณโณ
๑๑. นายพชร ยุติธรรมดำรง ๑๒. นายพินิต อารยะศิริ
๑๓. นายไพศาล กุมาลย์วิสัย ๑๔. นายไพศาล พืชมงคล
๑๕. นายไพศิษฐ์ พิพัฒนกุล ๑๖. พลตำรวจเอก วสิษฐ เดชกุญชร
๑๗. นายวัฒนา รัตนวิจิตร ๑๘. นายวิจิตร ศรีสอ้าน
๑๙. นายวิษณุ เครืองาม ๒๐. นายสุชาติ ไตรประสิทธิ์
๒๑. นายอารีย์ วงศ์อารยะ ๒๒. นายอาษา เมฆสวรรค์

  หนังสือยืนยันมติ ที่ สว ๐๐๐๘ / ลงวันที่
  กำหนดการแปรญัตติ วัน
  สิ้นสุดวันที่

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๔๑
  ผลการพิจารณา               ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๙/(ร ๗๐) ลงวันที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๔๑

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๑๐ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๔๑
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๐ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๔๑
  มติ ( ) เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( / ) แก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ

  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๒๒๔๘ (ด่วนมาก) ลงวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๔๑

กรณีวุฒิสภาลงมติแก้ไขเพิ่มเติม
สภาผู้แทนราษฎรเห็นว่าเป็นการแก้ไขเพิ่มเติมในสาระสำคัญหรือกรณีอื่น และไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม
  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๒๒๔๘ (ด่วนมาก) ลงวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๔๑
  สภาผู้แทนราษฎรรับที่ ๒๙๖/๒๕๔๑ ลงวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๔๑
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๒๘ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๔๑  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๒๘ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๔๑  
  มติ ( ) เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม ( / ) ไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม

  สภาผู้แทนราษฎรกำหนดกรรมาธิการร่วมกันฝ่ายละ ๑๐ คน
  พิจารณาร่างพระราชบัญญัติผู้ตรวจการรัฐสภา พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการฝ่ายสภาผู้แทนราษฎรประกอบด้วย
 
๑. ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง ๒. นายจำลอง ครุฑขุนทด
๓. นายชัย ชิดชอบ ๔. นายนพดล ปัทมะ
๕. นายโภคิน พลกุล ๖. พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์
๗. นายสืบแสง พรหมบุญ ๘. นายสุรศักดิ์ อนรรฆพันธ์
๙. นายอดิศร เพียงเกษ ๑๐. นายอลงกรณ์ พลบุตร

  หนังสือสภาผู้แทนราษฎรแจ้งจำนวนกรรมาธิการร่วมกัน ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๗๕๖๕ ลงวันที่ ๒ ตุลาคม ๒๕๔๒
  วุฒิสภารับที่ ๑๖๘ ลงวันที่ ๒ ตุลาคม ๒๕๔๑

  พิจารณาร่างพระราชบัญญัติสถาปนิก พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการฝ่ายวุฒิสภาประกอบด้วย
 
๑. นายกรพจน์ อัศวินวิจิตร ๒. นายกรพจน์ อัศวินวิจิตร
๓. พันเอก (พิเศษ) อุดม ทวีวัฒน์ ๔. นายกิรินทร์ ชัชวาลวงศ์
๕. นางกีระณา สุมาวงศ์ ๖. นายเกษม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
๗. นายเกษม สรศักดิ์เกษม ๘. พลอากาศเอก เกรียงไกร สินธวานนท์
๙. นายเกษม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ๑๐. พลอากาศเอก เกรียงไกร สินธวานนท์

  หนังสือวุฒิสภาแจ้งการตั้งกรรมาธิการร่วมกัน ที่ สว ๐๐๐๘ / ลงวันที่

  คณะกรรมาธิการร่วมกันพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวัน ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒  
  ผลการพิจารณา ( ) มีข้อสังเกต       ( / ) ไม่มีข้อสังเกต  
หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการร่วมกันไปยังสภาผู้แทนราษฎร ๐๐๑๗.๑๓/๓๑๔ ลงวันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒

ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๒๗ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๓ มีนาคม ๒๕๔๒  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๒๗ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๓ มีนาคม ๒๕๔๒
  มติ ( / ) เห็นชอบ       ( ) ไม่เห็นชอบ  
  หนังสือสภาผู้แทนราษฎรแจ้งกลับไปยังวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๘ / ๑๘๗๑ ลงวันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๔๒

ที่ประชุมวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๑๔ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๕ มีนาคม ๒๕๔๒  
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๔ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๕ มีนาคม ๒๕๔๒
  มติ ( / ) เห็นชอบ       ( ) ไม่เห็นชอบ  
  หนังสือแจ้งจากวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๘ / ๖๐๗ ลงวันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๔๒

ร่างพระราชบัญญัติได้รับความเห็นชอบของรัฐสภา
  หนังสือยืนยันไปยังเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๒๐๓๖ ลงวันที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๔๒
  ประกาศราชกิจจานุเบกษา ประเภท ก ฉบับกฤษฎีกา
  เล่มที่ ตอน หน้าที่ วันที่ พุทธศักราช

การวินิจฉัยร่างพระราชบัญญัติของศาลรัฐธรรมนูญ
  สมาชิกสภาผู้แทนราษฏรเสนอให้ส่งร่าง :vddis  
  หนังสือส่งร่างพระราชบัญญัติไปยังศาลรัฐธรรมนูญ ที่ :vbksn ลงวันที่ :vbdsn
  ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ :vbdju  
  มติ () ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ
() ไม่ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ
 
  หนังสือแจ้งไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ :vrcju ลงวันที่ :vdrju

สถานภาพของร่างฯ เห็นชอบประกาศใช้เป็นกฎหมาย