สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๑๙ ปี พ.ศ. ๒๕๓๘

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติสัญชาติ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง มาตรา ๑๓ มาตรา ๑๖ วรรคหนึ่ง แห่ง พระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ. ๒๕๐๘
ผู้เสนอ
๑. นางนิภา พริ้งศุลกะ ๒. นางอัญชลี วานิช เทพบุตร
๓. นางพรพิชญ์ พัฒนกุลเลิศ ๔. นายชัยพร ทองประเสริฐ
๕. นายวินัย เสนเนียม ๖. นางวรศุลี เชาว์ศิริกุล
พรรค ประชาธิปัตย์
ผู้รับรอง
๑. นายลาภศักดิ์ ลาภาโรจน์กิจ ๒. นายสุรเชษฐ์ แวอาแซ
๓. นายประเสริฐ พงษ์สุวรรณศิริ ๔. นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ
๕. นายสุรเชษฐ์ มาศดิตถ์ ๖. นายอภิชาติ ตรีสวัสดิชัย
๗. นายอาคม เอ่งฉ้วน ๘. นายสิทธิชัย โควสุรัตน์
๙. นายคำรณ ณ ลำพูน ๑๐. นายอิสสระ สมชัย
๑๑. นายสุวโรช พะลัง ๑๒. นายสมคิด นวลเปียน
๑๓. นายสนั่น สุธากุล ๑๔. นายนิพิฎฐ์ อินทรสมบัติ
๑๕. นายสุพัฒน์ ธรรมเพชร ๑๖. นายพิเชษฐ พันธุ์วิชาติกุล
๑๗. นายสมควร โอบอ้อม ๑๘. นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย
๑๙. นายพรศักดิ์ เปี่ยมคล้า ๒๐. นายสุชาติ แก้วนาโพธิ์

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๑๔ กันยายน ๒๕๓๘
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๑๓๓/๒๕๓๘ ลงวันที่ ๑๔ กันยายน ๒๕๓๘
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นายศิโรจน์ แพทย์พันธุ์  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( ) เป็น        ( / ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล เนื่องจากเป็นการแก้ไขกฎหมายสัญชาติให้สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญซึ่งให้ชายและหญิง มีสิทธิ เท่าเทียมกัน

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๑๙ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๒๐ (สมัยสามัญ ครั้งที่หนึ่ง) วันพุธที่ ๒๗ กันยายน ๒๕๓๘
    ที่ประชุมพิจารณา
    มติ ( ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

หมายเหตุ รอการพิจารณาวาระที่ ๑ ระหว่างนั้นมีพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร ในวันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๓๙ จึงทำให้ร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวตกไป
สถานภาพของร่างฯ ยุบสภา