สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติการออกเสียงประชามติ พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล ให้มีกฎหมายว่าด้วยการออกเสียงประชามติ เพื่อให้ประชาชน ออกเสียงลงคะแนนว่าจะเห็นชอบหรือไม่กับ ร่างรัฐธรรมนูญ ที่สภาร่างรัฐธรรมนูญเสนอโดยให้ประธานรัฐสภากำหนด วันออกเสียงประชามติ ให้นาย อำเภอตั้งคณะกรรมการ ดำเนินการออกเสียงประชามติขึ้น เพื่อทำหน้าที่เกี่ยวกับ การออกเสียงประชามติ และนับคะแนนโดยส่งผลคะแนนต่อ นายอำเภอ เพื่อมหาดไทยทำการประกาศผลแล้วแจ้งให้รัฐสภาทราบ เมื่อประกาศผลแล้วผู้มีสิทธิออกเสียง อาจเข้าชื่อไม่น้อยกว่า ๑๐๐ คน ยื่นคัดค้านโดยให้กระทำ ภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันประกาศ ตามมาตรา ๕๒ โดยยื่น ต่อคณะกรรมการ และมีการกำหนดบทลงโทษสำหรับ ผู้ฝ่าฝืน
ผู้เสนอ
๑. ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง ๒. นางมยุรา อุรเคนทร์
๓. นายเปรมศักดิ์ เพียยุระ
พรรค ความหวังใหม่
ผู้รับรอง
๑. พันตำรวจโท ไวพจน์ อาภรณ์รัตน์ ๒. ร้อยตรี วัฒนา แก้วศิริ
๓. ร้อยตรี นุกูล ธนิกุล ๔. นายวราเทพ รัตนากร
๕. นายมณฑล ไกรวัตนุสสรณ์ ๖. นายไพศาล ยิ่งสมาน
๗. นายเฉลิมชัย เอียสกุล ๘. นายสมบูรณ์ วันไชยธนวงศ์
๙. นายขจรธน จุดโต ๑๐. นายรณฤทธิชัย คานเขต
๑๑. นายสุเทพ ดีบุญมี ณ ชุมแพ ๑๒. นายก่ำชุง ประภากรแก้วรัตน์
๑๓. นายทวีวัฒน์ ฤทธิ์ฤาชัย ๑๔. นายธีระชัย เตียวเจริญโสภา
๑๕. นายอำนวย คลังผา ๑๖. นายสุพล ฟองงาม
๑๗. นายพิทักษ์ ศรีตะบุตร ๑๘. นายศุภสิทธิ์ เตชะตานนท์
๑๙. นายวิชัย ชัยจิตวณิชกุล ๒๐. นายเงิน ไชยศิวามงคล
๒๑. นายพิทักษ์ ศรีตะบุตร ๒๒. ว่าที่พันตรี สรชาติ สุวรรณพรหม
๒๓. นายภูมิ สาระผล ๒๔. นายบวร ภูจริต

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๒๗ เมษายน ๒๕๔๐
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๑๒๙/๒๕๔๐ ลงวันที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๔๐
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นายศิโรจน์ แพทย์พันธุ์  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( ) เป็น        ( / ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล เป็นเพียงการวางหลักเกณฑ์ วิธีการการออกเสียงประชามติ

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๑๑ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันพุธที่ ๖ สิงหาคม ๒๕๔๐
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๑๓ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันพุธที่ ๑๓ สิงหาคม ๒๕๔๐
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๗ คน

  พิจารณาร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๓๔๓ ลงวันที่ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๔๐
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่

  ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกัน
  เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๘๑/๒๕๔๐ ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี (ร่างฯหลัก)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๑๒๖/๒๕๔๐ ผู้เสนอ นายณัฐวุฒิ  ประเสริฐสุวรรณ (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๑๒๙/๒๕๔๐ ผู้เสนอ ร้อยโท กุเทพ  ใสกระจ่าง (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๑๗๘/๒๕๔๐ ผู้เสนอ นายวิชัย  ตันศิริ (ร่างฯทำนองเดียวกัน)

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๓๐ ธันวาคม ๒๕๔๐
  ผลการพิจารณา ( / ) มีข้อสังเกต        ( ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สผ ๐๐๑๗.๑๓/๔๕๖๘      ลงวันที่ ๓๐ ธันวาคม ๒๕๔๐

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๑๑ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันอังคารที่ ๑๔ มกราคม ๒๕๔๐
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๑๑ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันอังคารที่ ๑๔ มกราคม ๒๕๔๐
  มติ ( ) เห็นชอบ        ( / ) ไม่เห็นชอบ
  คะแนนเสียง เอกฉันท์

หมายเหตุ ไม่เห็นชอบกับร่างพระราชบัญญัติในวาระที่ ๓เนื่องจากร่างฯฉบับนี้มีหลักการเพื่อรองรับในกรณีรัฐสภาไม่ เห็นชอบกับ ร่างรัฐธรรมนูญแต่เมื่อรัฐสภาได้เห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญแล้ว ร่างฯฉบับนี้ จึงไม่มีความจำเป็นที่จ
สถานภาพของร่างฯ ตกไป