สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่..) พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล แก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ โดยกำหนดรายละเอียดในกรณีเมื่อศาล ได้พิพากษาให้ล้มละลายแล้วให้ชัดเจน ในกรณีเพื่อประโยชน์ในการมีคำสั่งศาลปลดจาก ล้มละลายแก่ลูกหนี้ กำหนดหลักเกณฑ์ในส่วนของตัวบุคคลล้มละลายทุจริตแทนลูกหนี้และ แก้ไขระยะเวลาให้เหมาะสม แก้ไขคำนิยามคำว่า "ลูกหนี้" กำหนดให้ลูกหนี้ที่ไม่สามารถ ชำระหนี้ที่ถึงกำหนดได้มีช่องทางที่จะฟื้นฟูกิจการได้ด้วย แก้ไขหลักเกณฑ์การห้ามมิให้ เจ้าหนี้ฟ้องผู้ค้ำประกันของลูกหนี้ไว้ให้เหมาะสม แก้ไขเพิ่มเติมมติของที่ประชุมเจ้าหนี้ใน เรื่องมติพิเศษ โดยกำหนดจำนวนคะแนนเสียงไว้ เพื่อให้โอกาสแก่ลูกหนี้ในการฟื้นฟูกิจการ โดยได้รับความยินยอมจากเจ้าหนี้ฝ่ายข้างมาก ปรับปรุงบทบัญญัติเกี่ยวกับมติของที่ประชุม เจ้าหนี้ กำหนดหลักเกณฑ์ให้ลูกหนี้ผู้ยื่นคำร้องกลับสู่สภาพเดิมเมื่อศาลมีคำสั่งไม่เห็นชอบ ด้วยแผน กำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการหลุดพ้นความรับผิดของผู้ค้ำประกันเมื่อศาลมีคำสั่ง เห็นชอบด้วยแผน แก้ไขในส่วนของทรัพย์สินซึ่งอาจเอามาชำระหนี้ เพื่อป้องกันสิทธิใน ทรัพย์สินของลูกหนี้ เมื่อมีคำสั่งยกเลิกการล้มละลาย
ผู้เสนอ
๑. นายทวีวัฒน์ ฤทธิ์ฤาชัย ๒. นายอดิศร เพียงเกษ
๓. นายเจริญ การุญ ๔. นายเอกพร รักความสุข
๕. นายดนัยฤทธิ์ วัชราภรณ์
พรรค ความหวังใหม่
ผู้รับรอง
๑. นายภูมิ สาระผล ๒. นายเวียง วรเชษฐ์
๓. นายวิชัย เอี่ยมวงศ์ ๔. นายพิชาญ พิบูลย์วัฒนวงษ์
๕. นายอำนวย คลังผา ๖. นายธนเทพ ทิมสุวรรณ
๗. นายประกิจ พลเดช ๘. นายอุดม ไกรวัตนุสสรณ์
๙. นายเฉลิมชัย เอียสกุล ๑๐. นายยรรยง ร่วมพัฒนา
๑๑. นายทศพร มูลศาสตรสาทร ๑๒. ร้อยตำรวจเอก เฉลิม อยู่บำรุง
๑๓. นายวีระกร คำประกอบ ๑๔. นายกิตติศักดิ์ หัตถสงเคราะห์
๑๕. นายบวร ภูจริต ๑๖. นายสุรพร ดนัยตั้งตระกูล
๑๗. พลอากาศเอก จรูญ วุฒิกาญจน์ ๑๘. ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง
๑๙. นายถาวร ตรีรัตน์ณรงค์ ๒๐. นายรณฤทธิชัย คานเขต
๒๑. นายเจริญ จรรย์โกมล ๒๒. นายอรรถสิทธิ์ ทรัพยสิทธิ์
๒๓. นายสุชาติ ศรีสังข์ ๒๔. นายพิเชษฐ สถิรชวาล

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๑
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๑๒๗/๒๕๔๑ ลงวันที่ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๑
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นายเสกสรร เพ็ญจันทร์  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( ) เป็น        ( / ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล เป็นการปรับปรุงกฎหมายให้เหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมในปัจจุบัน

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๒๗ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพฤหัสบดีที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๔๑
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๒๗ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพฤหัสบดีที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๔๑
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ
    คะแนนเสียง รับหลักการ ๒๐๕

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๗ คน

  พิจารณาร่างพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง ๒. นายเกียรติ ศรีสุรินทร์
๓. นายเจริญ คันธวงศ์ ๔. นายชัย ชิดชอบ
๕. นายณรงค์เลิศ สุรพล ๖. นายธนกร นันที
๗. นายประกิจ พลเดช ๘. นายพรชัย อัศววัฒนาพร
๙. นายพิษณุ พลไวย์ ๑๐. นายโภคิน พลกุล
๑๑. นายมานะ มหาสุวีระชัย ๑๒. นายมานิตย์ สุธาพร
๑๓. นายรุจิระ บุนนาค ๑๔. นายวรพร อัศวเหม
๑๕. นายวราเทพ รัตนากร ๑๖. นายวัฒนา เมืองสุข
๑๗. นายวิทยา แก้วภราดัย ๑๘. นายวิศิษฏ์ วิศิษฏ์สรอรรถ
๑๙. นายสงขลา วิชัยขัทคะ ๒๐. นายสันต์ศักย์ งามพิเชษฐ์
๒๑. นายสัมพันธ์ เลิศนุวัฒน์ ๒๒. นายสุทัศน์ เงินหมื่น
๒๓. รองศาสตราจารย์สุธีร์ ศุภนิตย์ ๒๔. นายสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล
๒๕. นายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์ ๒๖. นายอารีเพ็ญ อุตรสินธุ์
๒๗. นายเอกพร รักความสุข
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๓๑๗ ลงวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๔๑
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๔๑
  ใช้ร่างพระราชบัญญัติของ คณะรัฐมนตรี เป็นหลักในการพิจารณา

  ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกัน
  เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๑๑๓/๒๕๔๑ ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี (ร่างฯหลัก)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๑๖๒/๒๕๔๐ ผู้เสนอ นายสันต์ศักย์  งามพิเชษฐ์ (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๑๒๗/๒๕๔๑ ผู้เสนอ นายทวีวัฒน์  ฤทธิ์ฤาชัย (ร่างฯทำนองเดียวกัน)

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๔๑
  ผลการพิจารณา ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๕๕๔๙/๒๕๔๑      ลงวันที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๔๑

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๓๔ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๑ ตุลาคม ๒๕๔๑
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๙ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๖ มกราคม ๒๕๔๒ ถึง วันพุธที่ ๑๓ มกราคม ๒๕๔๒
  มติ ( / ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ

หนังสือยืนยันไปยังวุฒิสภา ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๓๒๔ ลงวันที่ ๑๕ มกราคม ๒๕๔๒

การพิจารณาของวุฒิสภา
  เลขทะเบียนรับ (กองกลาง สว.) ๐๐๐๔/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๑๕ มกราคม ๒๕๔๒
  เลขทะเบียนรับ (กองการประชุม สว.) ๐๐๑๓/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๑๕ มกราคม ๒๕๔๒
  เลขทะเบียนรับ (ฝ่ายญัตติ สว.) ๐๐๐๔/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๑๕ มกราคม ๒๕๔๒
  พิจารณาให้เสร็จภายใน ๖๐ วัน         ครบกำหนดวันที่ ๑๖ มีนาคม ๒๕๔๒
  นิติกรฝ่ายวุฒิสภา นายรพีพงศ์ ภูชฎาภิรมย์

การพิจารณาก่อนรับหลักการของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) ให้ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ     ( / ) ไม่ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ
การพิจารณาวาระที่ ๑ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๘ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๔๒
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๘ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๔๒
  มติ ( / ) เห็นชอบด้วยกับหลักการ        ( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับหลักการ

ส่งคณะกรรมาธิการ
  ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๘ คน
  วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายกรพจน์ อัศวินวิจิตร ๒. นายเกษม สรศักดิ์เกษม
๓. พลเรือเอก เกาะหลัก เจริญรุกข์ ๔. นายจิรายุทธ์ วสุรัตน์
๕. นายธีรพจน์ จรูญศรี ๖. คุณหญิงนันทกา สุประภาตะนันทน์
๗. นายนิพนธ์ วิสิษฐยุทธศาสตร์ ๘. คุณหญิงนิรมล สุริยสัตย์
๙. นายปกิต พัฒนกุล ๑๐. นายประชัย เลี่ยวไพรัตน์
๑๑. นายพชร ยุติธรรมดำรง ๑๒. นายพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา
๑๓. นายเพ็ง เพ็งนิติ ๑๔. นายไพศาล กุมาลย์วิสัย
๑๕. นายไพศิษฐ์ พิพัฒนกุล ๑๖. นายมนัส สุขสมาน
๑๗. นายวัลลภ ตังคณานุรักษ์ ๑๘. นายวิชัย โถสุวรรณจินดา
๑๙. นายวิโรจน์ ภู่ตระกูล ๒๐. นายวิศิษฏ์ วิศิษฏ์สรอรรถ
๒๑. นายวีรพงษ์ รามางกูร ๒๒. นายวีระชัย สูตรสุวรรณ
๒๓. นายสวัสดิ์ หอรุ่งเรือง ๒๔. นายสัก กอแสงเรือง
๒๕. นางสาวสุคนธ์ กาญจนาลัย ๒๖. นายสุทัศน์ เงินหมื่น
๒๗. นายสุประดิษฐ์ หุตะสิงห์ ๒๘. นายอัชพร จารุจินดา

  หนังสือยืนยันมติ ที่ สว ๐๐๐๘ / ว ๑๘๘ ลงวันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๔๒
  กำหนดการแปรญัตติ วัน
  สิ้นสุดวันที่ ๒๙ มกราคม ๒๕๔๒

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๔๒
  ผลการพิจารณา               ( / ) มีข้อสังเกต        ( ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๙/(ร ๔๐) ลงวันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๔๒

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๑๕ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๔๒
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๕ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๔๒
  มติ ( ) เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( / ) แก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ

กรณีมีข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวุฒิสภา
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๕ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๔๒
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับข้อสังเกต       ( ) ไม่เห็นด้วยกับข้อสังเกต

  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๖๘๕ (ด่วนมาก) ลงวันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๔๒

กรณีวุฒิสภาลงมติแก้ไขเพิ่มเติม
สภาผู้แทนราษฏรเห็นว่ามิได้เป็นการแแก้ไขเพิ่มเติมในสาระสำคัญ และเห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม
  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๖๘๕ (ด่วนมาก) ลงวันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๔๒
  สภาผู้แทนราษฎรรับที่ ๑๑๑/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๔๒
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๓๑ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๔๒  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๓๑ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๔๒  
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม ( ) ไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม

สถานภาพของร่างฯ เห็นชอบประกาศใช้เป็นกฎหมาย