สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติการออกเสียงประชามติ พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล ให้มีกฎหมายว่าด้วยการออกเสียงประชามติ เพื่อให้ประชาชน ออกเสียงลงคะแนนว่าจะเห็นชอบหรือไม่กับ ร่างรัฐธรรมนูญ ที่สภาร่างรัฐธรรมนูญเสนอโดยให้ประธานรัฐสภากำหนด วันออกเสียงประชามติ และให้ นายอำเภอแต่งตั้งคณะกรรมการ ดำเนินการออกเสียงประชามติขึ้นคณะหนึ่ง เพื่อดำเนินการเกี่ยวกับ การออกเสียงประชามติและทำการนับคะแนนโดยแสดงผลไปยัง นายอำเภอเพื่อแจ้งต่อไปยังกระทรวง มหาดไทย ประกาศผล ประชามติและแจ้งให้รัฐสภาทราบ และมีการกำหนดให้ผู้มีสิทธิ ออกเสียงใน ท้องที่ไม่น้อยกว่า ๕๐ คน ยื่นคัดค้านผลคะแนน โดยยื่นภายใน ๑๕ วัน ต่อกระทรวงมหาดไทย ตาม มาตรา ๓๔กำหนดบทลงโทษสำหรับผู้ฝ่าฝืนตามกฎหมายนี้
ผู้เสนอ
๑. นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ ๒. นายประเทือง วิจารณ์ปรีชา
๓. นายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์
พรรค ชาติไทย
ผู้รับรอง
๑. นายเรวัต สิรินุกุล ๒. นายสนธยา คุณปลื้ม
๓. นายวิรัช รัตนเศรษฐ ๔. นาวาโท เดชา สุขารมณ์
๕. นายกมล จิระพันธุ์วาณิช ๖. นายทศพร เสรีรักษ์
๗. พันจ่าอากาศเอก เด็ดดวงดอกรัก คุ้มชนะ ๘. นายสมชาย สหชัยรุ่งเรือง
๙. นายประยุทธ์ ศิริพานิชย์ ๑๐. นายชาตรี พิริยะกิจไพบูลย์
๑๑. นายบุญชู ตรีทอง ๑๒. นายชาญชัย ปทุมารักษ์
๑๓. นายสมพัฒน์ แก้วพิจิตร ๑๔. นายธีรพันธ์ วีระยุทธวัฒนะ
๑๕. นายวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล ๑๖. นายวาสิต พยัคฆบุตร
๑๗. ๑๘. พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์
๑๙. นายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล ๒๐. นายชาญศักดิ์ ชวลิตนิติธรรม

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๕๔๐
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๑๒๖/๒๕๔๐ ลงวันที่ ๒๕ มิถุนายน ๒๕๔๐
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นายศิโรจน์ แพทย์พันธุ์  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( ) เป็น        ( / ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล เป็นเพียงการวางระเบียบหลักเกณฑ์และวิธีการการออกเสียงประชามติ

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๑๑ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันพุธที่ ๖ สิงหาคม ๒๕๔๐
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๑๓ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันพุธที่ ๑๓ สิงหาคม ๒๕๔๐
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๗ คน

  พิจารณาร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๓๔๓ ลงวันที่ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๔๐
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่

  ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกัน
  เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๘๑/๒๕๔๐ ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี (ร่างฯหลัก)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๑๒๖/๒๕๔๐ ผู้เสนอ นายณัฐวุฒิ  ประเสริฐสุวรรณ (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๑๒๙/๒๕๔๐ ผู้เสนอ ร้อยโท กุเทพ  ใสกระจ่าง (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๑๗๘/๒๕๔๐ ผู้เสนอ นายวิชัย  ตันศิริ (ร่างฯทำนองเดียวกัน)

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๓๐ ธันวาคม ๒๕๔๐
  ผลการพิจารณา ( / ) มีข้อสังเกต        ( ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สผ ๐๐๑๗.๑๓/๔๕๖๘      ลงวันที่ ๓๐ ธันวาคม ๒๕๔๐

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๑๑ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๑๔ มกราคม ๒๕๔๑
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๑๑ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๑๔ มกราคม ๒๕๔๑
  มติ ( ) เห็นชอบ        ( / ) ไม่เห็นชอบ
  คะแนนเสียง เอกฉันท์

หมายเหตุ ไม่เห็นชอบกับร่างพระราชบัญญัติในวาระที่ ๓เนื่องจากร่างฯฉบับนี้มีหลักการเพื่อรองรับในกรณีรัฐสภาไม่ เห็นชอบกับ ร่างรัฐธรรมนูญแต่เมื่อรัฐสภาได้เห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญแล้ว ร่างฯฉบับนี้ จึงไม่มีความจำเป็น ที่จะพิจารณาต่อไป
สถานภาพของร่างฯ ตกไป