สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติสำนักงานศาลรัฐธรรมนุญ พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล ให้มีกฎหมายว่าด้วยสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญเป็นหน่วยงานของ รัฐมีฐานะเป็นนิติบุคคล และอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของคณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ โดยมี ประธานศาลรัฐธรรมนูญเป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุด สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญมีหน้าที่รับผิดชอบ เกี่ยวกิจการทั่วไปของศาลรัฐธรรมนูญในการกำกับดูแลสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ ให้คณะ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญมีอนาจออกระเบียบหรือประกาศเพื่อดำเนินการเกี่ยวกับการบริหาร งานบุคคล การบประมาณ การเงินและทรัพย์สิน ให้สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญมีเลขาธิการ ซึ่งประธานศาลรัฐธรรมนูญแต่งตั้ง เป็นผู้บังคับบัญชาพนักงานและลูกจ้างของสำนักงานศาล รัฐธรรมนูญและรับผิดชอบการปฏิบัติงานของสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญให้สำนักงานศาล รัฐธรรมนูญเสนองบประมาณรายจ่ายตามมติของคณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญต่อคณะ รัฐมนตรี เพื่อจัดสรรเป็นเงินอุดหนุนของศาลรัฐธรรมนูญและสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญไว้ใน ร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีหรือร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่าย เพิ่มเติมแล้วแต่กรณี และในมาตรา ๑๓ (๑) รายได้และทรัพย์สินในการดำเนินกิจการของ สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญได้จากเงินอุดหนุนตามมาตรา ๑๒ ในมาตรา ๑๔ รายได้ของสำนัก งานศาลรัฐธรรมนูญไม่เป็นรายได้ที่ต้องนำส่งกระทรวงการคลังตามกฎหมายว่าด้วยเงิน คงคลัง กฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณหรือกฎหมายอื่น
ผู้เสนอ
๑. นายชิงชัย มงคลธรรม ๒. นายเปรมศักดิ์ เพียยุระ
พรรค ความหวังใหม่
ผู้รับรอง
๑. นายภูมิ สาระผล ๒. นายบุญชง วีสมหมาย
๓. นายอุดม ไกรวัตนุสสรณ์ ๔. นายอดิศร เพียงเกษ
๕. นายก่ำชุง ประภากรแก้วรัตน์ ๖. นายวิชัย เอี่ยมวงศ์
๗. นายเกียรติชัย ชัยเชาวรัตน์ ๘. นายเอี่ยม ทองใจสด
๙. นายวิทยา ภูมิเหล่าแจ้ง ๑๐. นายเกษม รุ่งธนเกียรติ
๑๑. นายเรืองวิทย์ ลิกค์ ๑๒. นายธีระชัย ศิริขันธ์
๑๓. นายฐานิสร์ เทียนทอง ๑๔. นายสุรศักดิ์ เทียมประเสริฐ
๑๕. นายอารีเพ็ญ อุตรสินธุ์ ๑๖. ร้อยตรี นุกูล ธนิกุล
๑๗. นายธนเทพ ทิมสุวรรณ ๑๘. นายอำนวย คลังผา
๑๙. นายวราเทพ รัตนากร ๒๐. นายรณฤทธิชัย คานเขต

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๔๑
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๑๒๑/๒๕๔๑ ลงวันที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๔๑
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นายวิมล กสิบุตร  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( / ) เป็น        ( ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล การกำหนดให้มีสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญและเลขาธิการสำนักงานมีหน้าที่ควบคุมดูแล ราชการของสำนักงาน ให้คณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญวางหลักเกณฑ์การจ้าง ค่าจ้าง ในการปฏิบัติงาน และการได้รับค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์ของผู้ได้รับมอบหมายให้ ปฏิบัติตามหน้าที่ มีผลทำให้รัฐต้องจัดสรรเงินงบประมาณรายจ่ายของแผ่นดินมาดำเนินการ

กรณีร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินของสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๗๓๘๒ ลงวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๔๑
    หนังสือแจ้งจากผู้เสนอ (กรณีคัดค้านร่าง) ที่ ลงวันที่
                 ( ) คัดค้าน    ( ) ไม่คัดค้าน     ( ) ไม่แจ้งคัดค้านภายใน 7 วัน
    หนังสือส่งให้นายกรัฐมนตรีรับรอง ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๗๔๕๖ ลงวันที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๔๑
    หนังสือแจ้งเหตุขัดข้องจากเลขาธิการนายกฯ ที่ นร ๐๑๑๓/๒๑๔๑๐ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๔๑
    หนังสือนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๐๑๑๓/๒๒๒๙๓ ลงวันที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๔๑
                 ( / ) รับรอง    ( ) ไม่รับรอง
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ลงวันที่

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๓๔ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๑ ตุลาคม ๒๕๔๑
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๓๔ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๑ ตุลาคม ๒๕๔๑
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๗ คน

  พิจารณาร่างพระราชบัญญัติสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายกวี สุภธีระ ๒. นายเกษม รุ่งธนเกียรติ
๓. พลอากาศเอก จรูญ วุฒิกาญจน์ ๔. นายชัย ชิดชอบ
๕. นายธรรมนูญ ฤทธิรัตน์ ๖. นายเธียร มโนหรทัต
๗. นายนพดล เฮงเจริญ ๘. นายนิพนธ์ บุญญามณี
๙. นายนิพนธ์ ฮะกีมี ๑๐. นางนิภา พริ้งศุลกะ
๑๑. นายบูราฮานูดิน อุเซ็ง ๑๒. นายปานปรีย์ พหิทธานุกร
๑๓. นางพรพิชญ์ พัฒนกุลเลิศ ๑๔. นายพิชาญ พิบูลย์วัฒนวงษ์
๑๕. นายพินิจ จันทรสุรินทร์ ๑๖. นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค
๑๗. นายไพบูลย์ วราหะไพฑูรย์ ๑๘. นายยงยศ อรุณเวสสะเศรษฐ
๑๙. ศาสตราจารย์ลิขิต ธีระเวคิน ๒๐. รองศาสตราจารย์สมคิด เลิศไพฑูรย์
๒๑. นายสราวุธ เบญจกุล ๒๒. นายสุทัศน์ เงินหมื่น
๒๓. นายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์ ๒๔. นายสุรินทร์ เทพกาญจนา
๒๕. นายอภิชัย ตรังคินีนาถ ๒๖. นายอิทธิพล คุณปลื้ม
๒๗. นายอิสสระ สมชัย
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๓๖๒ ลงวันที่ ๒๒ ตุลาคม ๒๕๔๑
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่ ๒๘ ตุลาคม ๒๕๔๑
  ใช้ร่างพระราชบัญญัติของ คณะรัฐมนตรี เป็นหลักในการพิจารณา

  ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกัน
  เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๑๕๖/๒๕๔๑ ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี (ร่างฯหลัก)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๑๒๑/๒๕๔๑ ผู้เสนอ นายชิงชัย  มงคลธรรม (ร่างฯทำนองเดียวกัน)

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๔๑
  ผลการพิจารณา ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สผ ๐๐๑๗.๑๓/๒๓๓๓      ลงวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๔๑

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๕ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๖ ธันวาคม ๒๕๔๑
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๒๑ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒
  มติ ( / ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ

หนังสือยืนยันไปยังวุฒิสภา ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๑๒๑๐ ลงวันที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒

การพิจารณาของวุฒิสภา
  เลขทะเบียนรับ (กองกลาง สว.) ๐๐๑๔/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒
  เลขทะเบียนรับ (กองการประชุม สว.) ๐๐๒๘/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒
  เลขทะเบียนรับ (ฝ่ายญัตติ สว.) ๐๐๑๕/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒
  พิจารณาให้เสร็จภายใน ๓๐ วัน         ครบกำหนดวันที่ ๑๔ มีนาคม ๒๕๔๒
  นิติกรฝ่ายวุฒิสภา นายสราวุธ สุธราพันธ์

การพิจารณาก่อนรับหลักการของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) ให้ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ     ( / ) ไม่ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ
การพิจารณาวาระที่ ๑ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๑๒ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๒ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒
  มติ ( / ) เห็นชอบด้วยกับหลักการ        ( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับหลักการ

ส่งคณะกรรมาธิการ
  ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๖ คน
  วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายกิรินทร์ ชัชวาลวงศ์ ๒. นายเกษม สรศักดิ์เกษม
๓. นายชูวงศ์ ฉายะบุตร ๔. นายธีรพจน์ จรูญศรี
๕. นายนพดล เฮงเจริญ ๖. นายนิพนธ์ วิสิษฐยุทธศาสตร์
๗. นายนิพนธ์ ฮะกีมี ๘. พลเอก บุญศักดิ์ กำแหงฤทธิรงค์
๙. นายพูนศักดิ์ วรรณพงษ์ ๑๐. นายไพบูลย์ ช่างเรียน
๑๑. นายไพศาล กุมาลย์วิสัย ๑๒. นายรัตน์ ศรีไกรวิน
๑๓. นายวรรณไว พัธโนทัย ๑๔. นายวิษณุ เครืองาม
๑๕. นายวีระชัย สูตรสุวรรณ ๑๖. นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์
๑๗. นายสมพงศ์ ศรียะพันธุ์ ๑๘. นายสรรเสริญ ไกรจิตติ
๑๙. นายสราวุธ เบญจกุล ๒๐. นายสุทัศน์ เงินหมื่น
๒๑. นายสุประดิษฐ์ หุตะสิงห์ ๒๒. นายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์
๒๓. นายสุวรรณ ปัญญาภาส ๒๔. นายอมร จันทรสมบูรณ์
๒๕. นายอักขราทร จุฬารัตน ๒๖. นายอารีย์ วงศ์อารยะ

  หนังสือยืนยันมติ ที่ สว ๐๐๐๘ / ว ๔๖๒ ลงวันที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒
  กำหนดการแปรญัตติ วัน
  สิ้นสุดวันที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๔ มีนาคม ๒๕๔๒
  ผลการพิจารณา               ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๙/(ร ๓๕) ลงวันที่ ๔ มีนาคม ๒๕๔๒

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๑๕ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๔๒
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๕ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๔๒
  มติ ( ) เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( / ) แก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ

  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๖๗๗ (ด่วนมาก) ลงวันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๔๒

กรณีวุฒิสภาลงมติแก้ไขเพิ่มเติม
สภาผู้แทนราษฏรเห็นว่ามิได้เป็นการแแก้ไขเพิ่มเติมในสาระสำคัญ และเห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม
  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๖๗๗ (ด่วนมาก) ลงวันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๔๒
  สภาผู้แทนราษฎรรับที่ ๑๐๗/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๔๒
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๓๑ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๔๒  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๓๑ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๔๒  
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม ( ) ไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม

สถานภาพของร่างฯ เห็นชอบประกาศใช้เป็นกฎหมาย