สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล ยกเลิกพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ พ.ศ. ๒๕๑๘ พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบใน วงราชการ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๐ และพระราชบัญญัติการแสดงทรัพย์สินและหนี้สินของ สมาชิกวุฒิสภาและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๙ ให้มีสำนักงานคณะกรรมการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ โดยคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการ ทุจริตแห่งชาติเป็นผู้กำกับดูแลสำนักงานฯ กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการถอดถอนบุคคล ออกจากตำแหน่ง การสอบสวนและการดำเนินการเกี่ยวกับการประพฤติมิชอบในตำแหน่ง หน้าที่ราชการ การยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สิน การตรวจสอบบุคคลซึ่งร่ำรวยผิดปกติและ การยึดทรัพย์สินในกรณีร่ำรวยผิดปกติ และบทกำหนดโทษในกรณีที่คณะกรรมการปฏิบัติ หน้าที่โดยไม่สุจริตไม่เที่ยงธรรม
ผู้เสนอ
๑. นายอดิศร เพียงเกษ ๒. นายเปรมศักดิ์ เพียยุระ
พรรค ความหวังใหม่
ผู้รับรอง
๑. นายภูมิ สาระผล ๒. นายบุญชง วีสมหมาย
๓. นายอุดม ไกรวัตนุสสรณ์ ๔. นายวิชัย เอี่ยมวงศ์
๕. นายก่ำชุง ประภากรแก้วรัตน์ ๖. ร้อยตรี นุกูล ธนิกุล
๗. นายเกียรติชัย ชัยเชาวรัตน์ ๘. นายเอี่ยม ทองใจสด
๙. นายวิทยา ภูมิเหล่าแจ้ง ๑๐. นายเกษม รุ่งธนเกียรติ
๑๑. นายเรืองวิทย์ ลิกค์ ๑๒. นายธีระชัย ศิริขันธ์
๑๓. นายอารีเพ็ญ อุตรสินธุ์ ๑๔. นายสุรศักดิ์ เทียมประเสริฐ
๑๕. นายธนเทพ ทิมสุวรรณ ๑๖. นายอำนวย คลังผา
๑๗. นายวราเทพ รัตนากร ๑๘. นายรณฤทธิชัย คานเขต
๑๙. นายเด่น โต๊ะมีนา ๒๐. นายพิชาญ พิบูลย์วัฒนวงษ์

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๔๑
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๑๒๐/๒๕๔๑ ลงวันที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๔๑
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นางสินี ส้มมี  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( / ) เป็น        ( ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล การกำหนดให้มีสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ โดยสำนักงานดังกล่าวได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและรายได้ไม่ต้องนำส่งกระทรวง การคลังตามกฎหมายว่าด้วยเงินคงคลังและวิธีการงบประมาณ ทำให้รัฐขาดรายรับและ ต้องจัดสรรเงินงบประมารรายจ่าจของแผ่นดินมาดำเนินการ

กรณีร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินของสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๗๔๗๕ ลงวันที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๔๑
    หนังสือแจ้งจากผู้เสนอ (กรณีคัดค้านร่าง) ที่ ลงวันที่
                 ( ) คัดค้าน    ( ) ไม่คัดค้าน     ( ) ไม่แจ้งคัดค้านภายใน 7 วัน
    หนังสือส่งให้นายกรัฐมนตรีรับรอง ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๗๔๕๖ ลงวันที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๔๑
    หนังสือแจ้งเหตุขัดข้องจากเลขาธิการนายกฯ ที่ นร ๐๑๑๓/๒๑๔๑๐ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๔๑
    แจ้งเหตุขัดข้องให้ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรทราบ(กรณีเปิดสมัยประชุม)
    ในการประชุม ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๓๔ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๑ ตุลาคม ๒๕๔๑
    หนังสือนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๐๑๑๓/๓๐๙๐ ลงวันที่ ๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒
                 ( / ) รับรอง    ( ) ไม่รับรอง
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ลงวันที่

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๒๑ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๒๑ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๗ คน

 
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายกมล บันไดเพชร ๒. นายกล้านรงค์ จันทิก
๓. นายเกษม รุ่งธนเกียรติ ๔. นายขจิตร ชัยนิคม
๕. นายเชาวน์วัศ สุดลาภา ๖. นายไชยยศ สะสมทรัพย์
๗. นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ ๘. นายทองสุด กลิ่นประภัศร
๙. นายทิวา เงินยวง ๑๐. นายนพดล ปัทมะ
๑๑. รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร ๑๒. นายประจักษ์ พุทธิสมบัติ
๑๓. นายประสาท ตันประเสริฐ ๑๔. นายปรีชา สุวรรณทัต
๑๕. นางสาวพรทิพย์ จาละ ๑๖. นายไพจิต ศรีวรขาน
๑๗. นายวิทยา แก้วภราดัย ๑๘. พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์
๑๙. นายวุฒิชัย สงวนวงศ์ชัย ๒๐. นายสนิท กุลเจริญ
๒๑. รองศาสตราจารย์สมคิด เลิศไพฑูรย์ ๒๒. นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย
๒๓. รองศาสตราจารย์สุรพล นิติไกรพจน์ ๒๔. นายอดิศร เพียงเกษ
๒๕. นายอนันต์ กาญจนสุวรรณ ๒๖. นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
๒๗. นายอารีเพ็ญ อุตรสินธุ์
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว๓๗ ลงวันที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่ ๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒
  ใช้ร่างพระราชบัญญัติของ คณะรัฐมนตรี เป็นหลักในการพิจารณา

  ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกัน
  เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๑๖/๒๕๔๒ ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี (ร่างฯหลัก)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๕๐/๒๕๔๑ ผู้เสนอ นายปรีชา  สุวรรณทัต (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๑๒๐/๒๕๔๑ ผู้เสนอ นายอดิศร  เพียงเกษ (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๐๓/๒๕๔๒ ผู้เสนอ พลตำรวจโท วิโรจน์  เปาอินทร์ (ร่างฯทำนองเดียวกัน)

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๙ กรกฎาคม ๒๕๔๒
  ผลการพิจารณา ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๘๑๙/๒๕๔๒      ลงวันที่ ๙ กรกฎาคม ๒๕๔๒

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๗ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๔๒
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๗ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๔๒
  มติ ( / ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ

หนังสือยืนยันไปยังวุฒิสภา ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๕๔๓๙ ลงวันที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๔๒

การพิจารณาของวุฒิสภา
  เลขทะเบียนรับ (กองกลาง สว.) ๐๐๕๒/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๔๒
  เลขทะเบียนรับ (กองการประชุม สว.) ๐๑๑๓/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๔๒
  เลขทะเบียนรับ (ฝ่ายญัตติ สว.) ๐๐๕๗/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๔๒
  พิจารณาให้เสร็จภายใน ๓๐ วัน         ครบกำหนดวันที่ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๔๒
  นิติกรฝ่ายวุฒิสภา นายรพีพงศ์ ภูชฎาภิรมย์

การพิจารณาก่อนรับหลักการของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) ให้ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ     ( / ) ไม่ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ
การพิจารณาวาระที่ ๑ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๕ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๔๒
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๕ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๔๒
  มติ ( / ) เห็นชอบด้วยกับหลักการ        ( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับหลักการ

ส่งคณะกรรมาธิการ
  ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๗ คน
  วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทุจริต พ.ศ. . . . .
คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายกล้านรงค์ จันทิก ๒. นายเกษม สรศักดิ์เกษม
๓. พลเรือเอก เกาะหลัก เจริญรุกข์ ๔. นายชัยเชต สุนทรพิพิธ
๕. นายชูวงศ์ ฉายะบุตร ๖. นายทองสุด กลิ่นประภัศร
๗. นายนรนิติ เศรษฐบุตร ๘. นายนิเชต สุนทรพิทักษ์
๙. นายนิพนธ์ วิสิษฐยุทธศาสตร์ ๑๐. นายบวรศักดิ์ อุวรรณโณ
๑๑. นายปกิต พัฒนกุล ๑๒. นายพชร ยุติธรรมดำรง
๑๓. นางสาวพรทิพย์ จาละ ๑๔. นายพินิต อารยะศิริ
๑๕. นายไพศาล กุมาลย์วิสัย ๑๖. นายไพศิษฐ์ พิพัฒนกุล
๑๗. พลตำรวจเอก วสิษฐ เดชกุญชร ๑๘. นายวัลลภ ตังคณานุรักษ์
๑๙. นายวิชัย โถสุวรรณจินดา ๒๐. พลเอก วิชิต บุณยะวัฒน์
๒๑. นายวิษณุ เครืองาม ๒๒. นายวีระชัย สูตรสุวรรณ
๒๓. นายสรรเสริญ ไกรจิตติ ๒๔. นายสุรพล นิติไกรพจน์
๒๕. นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ๒๖. นายอารีย์ วงศ์อารยะ
๒๗. นายโอภาส อรุณินท์

  หนังสือยืนยันมติ ที่ สว ๐๐๐๘ / ว ๑๘๓๗ ลงวันที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๔๒
  กำหนดการแปรญัตติ วัน
  การขอขยายระยะเวลาเป็นกรณีพิเศษ
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๑ ๓๐ วัน
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๒ วัน
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๓ วัน

  สิ้นสุดวันที่ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๔๒

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๓ กันยายน ๒๕๔๒
  ผลการพิจารณา               ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๙/(ร ๑๒๒) ลงวันที่ ๓ กันยายน ๒๕๔๒

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๑๒ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๔๒
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๒ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๔๒
  มติ ( ) เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( / ) แก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ

  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๒๓๒๐ ลงวันที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๔๒

กรณีวุฒิสภาลงมติแก้ไขเพิ่มเติม
สภาผู้แทนราษฏรเห็นว่ามิได้เป็นการแแก้ไขเพิ่มเติมในสาระสำคัญ และเห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม
  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๒๓๒๐ ลงวันที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๔๒
  สภาผู้แทนราษฎรรับที่ ๓๔๓/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๔๒
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๒๕ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๔๒  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๒๕ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๔๒  
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม ( ) ไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม

สถานภาพของร่างฯ เห็นชอบประกาศใช้เป็นกฎหมาย