สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล ปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจคนต่างด้าว โดยที่ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๘๑ ลงวันที่ ๒๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๕ ซึ่งใช้บังคับอยู่ในปัจจุบันได้ออกใช้บังคับ มาเป็นเวลานายแล้ว และมีหลักการบางประการไม่สอดคล้องกับสภาวการณ์ทางเศรษฐกิจ การลงทุน และการค้าระหว่างประเทศในปัจจุบันสมควรปรับปรุงกฎหมายดังกล่าวเสียใหม่ เพื่อส่งเสริมให้มีการแข่งขันในการประกอบธุรกิจทั้งในประเทศและต่างประเทศ และให้ การประกอบธุรกิจของคนต่างด้าวเป็นประโยชน์กับประเทศเป็นส่วนรวมเพิ่มมากขึ้น อีกทั้ง เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่การกำกับดูแลการลงทุนของคนต่าวด้าวในประเทศ
ผู้เสนอ
๑. นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค ๒. นายสุพัฒน์ ธรรมเพชร
๓. นายวิรัช ร่มเย็น ๔. พันตำรวจโท วิจิตร สุวิทย์
๕. นายสุวโรช พะลัง ๖. นายมานะ มหาสุวีระชัย
๗. นายนิพนธ์ บุญญามณี ๘. นายจุติ ไกรฤกษ์
พรรค ประชาธิปัตย์
ผู้รับรอง
๑. นายนิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ ๒. นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
๓. นางอัญชลี วานิช เทพบุตร ๔. นายประเสริฐ พงษ์สุวรรณศิริ
๕. นายอาทิตย์ อุไรรัตน์ ๖. นายจักรพันธุ์ ยมจินดา
๗. นายธานินทร์ ใจสมุทร ๘. นายธวัชชัย สัจจกุล
๙. นายลาภศักดิ์ ลาภาโรจน์กิจ ๑๐. นายสุรเชษฐ์ แวอาแซ
๑๑. ๑๒. นายธวัช วิชัยดิษฐ
๑๓. นายเจะอามิง โตะตาหยง ๑๔. นายชัยวุฒิ บรรณวัฒน์
๑๕. นายสืบแสง พรหมบุญ ๑๖. นายอิสสระ สมชัย
๑๗. นายวิชัย ตันศิริ ๑๘. นายไพโรจน์ ตันบรรจง
๑๙. นางศิริวรรณ ปราศจากศัตรู ๒๐. นายประกอบ จิรกิติ

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๔๑
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๑๑๗/๒๕๔๑ ลงวันที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๔๑
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นางสาวสุภัตรา วรวุฒิธีรกุล  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( / ) เป็น        ( ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล การดำเนินการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าวที่ต้องจ่ายค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ตามที่กำหนดไว้นั้น มีผลให้รัฐมีรายรับเพิ่มขึ้น

กรณีร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินของสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๗๑๐๙ ลงวันที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๔๑
    หนังสือแจ้งจากผู้เสนอ (กรณีคัดค้านร่าง) ที่ ลงวันที่
                 ( ) คัดค้าน    ( ) ไม่คัดค้าน     ( ) ไม่แจ้งคัดค้านภายใน 7 วัน
    หนังสือส่งให้นายกรัฐมนตรีรับรอง ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๗๐๙๑ ลงวันที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๔๑
    หนังสือแจ้งเหตุขัดข้องจากเลขาธิการนายกฯ ที่ นร ๐๑๑๓/๑๙๘๖๕ ลงวันที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๔๑
    แจ้งเหตุขัดข้องให้ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรทราบ(กรณีเปิดสมัยประชุม)
    ในการประชุม ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๒๘ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๔๑
    หนังสือนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๐๑๑๓/๒๑๔๑๙ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๔๑
                 ( / ) รับรอง    ( ) ไม่รับรอง
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ลงวันที่

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๓๒ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๔๑
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๓๓ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพฤหัสบดีที่ ๑๕ ตุลาคม ๒๕๔๑
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๗ คน

  พิจารณาร่างพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายกมล บันไดเพชร ๒. นายการุณ กิตติสถาพร
๓. ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง ๔. นายเจริญ คันธวงศ์
๕. นายชาญศักดิ์ ชวลิตนิติธรรม ๖. นายตรีพล เจาะจิตต์
๗. นายนพดล ปัทมะ ๘. นายนรวัฒน์ สุวรรณ
๙. นายประวิช รัตนเพียร ๑๐. นางปานตา ศิริวัฒน์
๑๑. นายปานปรีย์ พหิทธานุกร ๑๒. นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค
๑๓. นายมติ ตั้งพานิช ๑๔. นายยรรยง พวงราช
๑๕. นายยอดเยี่ยม เทพธรานนท์ ๑๖. นางลลิตา ฤกษ์สำราญ
๑๗. นายวราเทพ รัตนากร ๑๘. นายวิชัย ชัยจิตวณิชกุล
๑๙. นายวิเชษฐ์ เกษมทองศรี ๒๐. พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์
๒๑. นายสมพงษ์ บรรพประจักษ์ ๒๒. นายสัมพันธ์ แป้นพัฒน์
๒๓. นายสุนัย จุลพงศธร ๒๔. นางอัญชลี วานิช เทพบุตร
๒๕. นายอำนาจ ชนะวงศ์ ๒๖. นายอิสสระ สมชัย
๒๗. นายเอกพร รักความสุข
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๓๕๗ ลงวันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๔๑
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่ ๒๒ ตุลาคม ๒๕๔๑
  ใช้ร่างพระราชบัญญัติของ คณะรัฐมนตรี เป็นหลักในการพิจารณา

  ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกัน
  เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๑๔๔/๒๕๔๑ ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี (ร่างฯหลัก)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๑๑๗/๒๕๔๑ ผู้เสนอ นายพีระพันธุ์  สาลีรัฐวิภาค (ร่างฯทำนองเดียวกัน)

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๔๒
  ผลการพิจารณา ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๑๓๑๓/๒๕๔๒      ลงวันที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๔๒

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๓๑ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๔๒
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๓๗ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๗ เมษายน ๒๕๔๒
  มติ ( / ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ

หนังสือยืนยันไปยังวุฒิสภา ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๒๙๙๗ ลงวันที่ ๘ เมษายน ๒๕๔๒

การพิจารณาของวุฒิสภา
  เลขทะเบียนรับ (กองกลาง สว.) ๐๐๓๔/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๘ เมษายน ๒๕๔๒
  เลขทะเบียนรับ (กองการประชุม สว.) ๐๐๗๙/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๘ เมษายน ๒๕๔๒
  เลขทะเบียนรับ (ฝ่ายญัตติ สว.) ๐๐๓๖/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๘ เมษายน ๒๕๔๒
  พิจารณาให้เสร็จภายใน ๓๐ วัน         ครบกำหนดวันที่ ๘ พฤษภาคม ๒๕๔๒
  นิติกรฝ่ายวุฒิสภา นายสราวุธ สุธราพันธ์

การพิจารณาก่อนรับหลักการของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) ให้ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ     ( / ) ไม่ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ
การพิจารณาวาระที่ ๑ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๑๙ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๙ เมษายน ๒๕๔๒
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๙ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๙ เมษายน ๒๕๔๒
  มติ ( / ) เห็นชอบด้วยกับหลักการ        ( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับหลักการ

ส่งคณะกรรมาธิการ
  ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน
  วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายกรพจน์ อัศวินวิจิตร ๒. นายการุณ กิตติสถาพร
๓. พลเรือเอก เกาะหลัก เจริญรุกข์ ๔. นายจิรายุทธ์ วสุรัตน์
๕. นายโชคชัย อักษรนันท์ ๖. นายดุสิต ศิริวรรณ
๗. นายธรรมา ปิ่นสุกาญจนะ ๘. นายนรวัฒน์ สุวรรณ
๙. คุณหญิงนันทกา สุประภาตะนันทน์ ๑๐. นายนิพนธ์ วิสิษฐยุทธศาสตร์
๑๑. คุณหญิงนิรมล สุริยสัตย์ ๑๒. นายบูรพา อัตถากร
๑๓. นายปกิต พัฒนกุล ๑๔. นายประชา เหตระกูล
๑๕. นางปานตา ศิริวัฒน์ ๑๖. นายพชร ยุติธรรมดำรง
๑๗. นายพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา ๑๘. นายไพศาล กุมาลย์วิสัย
๑๙. นายมนัส สุขสมาน ๒๐. นายยรรยง พวงราช
๒๑. นายวรารักษ์ ชั้นสามารถ ๒๒. นายวัลลภ ตังคณานุรักษ์
๒๓. นายวิจิตร ณ ระนอง ๒๔. นายวิชัย โถสุวรรณจินดา
๒๕. นายวิโรจน์ ภู่ตระกูล ๒๖. นายวีรพงษ์ รามางกูร
๒๗. พลเอก ศิรินทร์ ธูปกล่ำ ๒๘. นายสมพล เกียรติไพบูลย์
๒๙. นายสรรเสริญ ไกรจิตติ ๓๐. นายสวัสดิ์ หอรุ่งเรือง
๓๑. นางสาวสุคนธ์ กาญจนาลัย ๓๒. นายสุธรรม จิตรานุเคราะห์
๓๓. นายอดิศัย โพธารามิก ๓๔. นางอรนุช โอสถานนท์
๓๕. นายอำนาจ สอนอิ่มสาตร์

  หนังสือยืนยันมติ ที่ สว ๐๐๐๘ / ว ๑๐๐๗ ลงวันที่ ๑๒ เมษายน ๒๕๔๒
  กำหนดการแปรญัตติ วัน
  การขอขยายระยะเวลาเป็นกรณีพิเศษ
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๑ ๓๐ วัน
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๒ วัน
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๓ วัน

  สิ้นสุดวันที่ ๑๖ เมษายน ๒๕๔๒

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๑๓ สิงหาคม ๒๕๔๒
  ผลการพิจารณา               ( / ) มีข้อสังเกต        ( ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๙/(ร ๑๐๖) ลงวันที่ ๑๓ สิงหาคม ๒๕๔๒

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๙ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๔๒
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๙ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๔๒
  มติ ( ) เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( / ) แก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ

กรณีมีข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวุฒิสภา
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๙ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๔๒
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับข้อสังเกต       ( ) ไม่เห็นด้วยกับข้อสังเกต
  หนังสือส่งข้อสังเกตของกรรมาธิการไปยังเลขาธิการฯ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๒๐๙๓ ลงวันที่ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๔๒

  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๒๐๙๗ (ด่วนมาก) ลงวันที่ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๔๒

กรณีวุฒิสภาลงมติแก้ไขเพิ่มเติม
สภาผู้แทนราษฎรเห็นว่าเป็นการแก้ไขเพิ่มเติมในสาระสำคัญหรือกรณีอื่น และไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม
  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๒๐๙๗ (ด่วนมาก) ลงวันที่ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๔๒
  สภาผู้แทนราษฎรรับที่ ๓๑๖/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๔๒
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๑๖ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๕ สิงหาคม ๒๕๔๒  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๒๕ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๔๒  
  มติ ( ) เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม ( / ) ไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม

  สภาผู้แทนราษฎรกำหนดกรรมาธิการร่วมกันฝ่ายละ ๑๐ คน
  ร่วมกันพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการฝ่ายสภาผู้แทนราษฎรประกอบด้วย
 
๑. นายไชยวัฒน์ ไกรฤกษ์ ๒. นายตรีพล เจาะจิตต์
๓. นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค ๔. นายวราเทพ รัตนากร
๕. นายวิชัย ชัยจิตวณิชกุล ๖. นายวิเชษฐ์ เกษมทองศรี
๗. พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์ ๘. นายวีระกร คำประกอบ
๙. นายสมพร อัศวเหม ๑๐. นายสืบแสง พรหมบุญ

  หนังสือสภาผู้แทนราษฎรแจ้งจำนวนกรรมาธิการร่วมกัน ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๗๔๔๘ ลงวันที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๔๒
  วุฒิสภารับที่ ๓๔๘/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๔๒

  ร่วมกันเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการฝ่ายวุฒิสภาประกอบด้วย
 
๑. พลเรือเอก เกาะหลัก เจริญรุกข์ ๒. นายโชคชัย อักษรนันท์
๓. นายธรรมา ปิ่นสุกาญจนะ ๔. คุณหญิงนันทกา สุประภาตะนันทน์
๕. คุณหญิงนิรมล สุริยสัตย์ ๖. นายไพศาล กุมาลย์วิสัย
๗. นายวิชัย โถสุวรรณจินดา ๘. นางสาวสุคนธ์ กาญจนาลัย
๙. นายสุวิทย์ สุทธานุกูล ๑๐. นางอรนุช โอสถานนท์

  หนังสือวุฒิสภาแจ้งการตั้งกรรมาธิการร่วมกัน ที่ สว ๐๐๐๘ / ๒๕๙๒ ลงวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๔๒

  คณะกรรมาธิการร่วมกันพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวัน ๑๒ ตุลาคม ๒๕๔๒  
  ผลการพิจารณา ( / ) มีข้อสังเกต       ( ) ไม่มีข้อสังเกต  
หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการร่วมกันไปยังสภาผู้แทนราษฎร ๖๖๕๑/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๔๒

ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๓๔ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๔๒  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๓๔ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๔๒
  มติ ( / ) เห็นชอบ       ( ) ไม่เห็นชอบ  
  หนังสือสภาผู้แทนราษฎรแจ้งกลับไปยังวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๘ / ๘๒๖๘ ลงวันที่ ๒๑ ตุลาคม ๒๕๔๒

ที่ประชุมวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๑๗ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๑๕ ตุลาคม ๒๕๔๒  
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๗ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๑๕ ตุลาคม ๒๕๔๒
  มติ ( / ) เห็นชอบ       ( ) ไม่เห็นชอบ  
  หนังสือแจ้งจากวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๘ / ๒๗๙๑ ลงวันที่ ๑๕ ตุลาคม ๒๕๔๒

ร่างพระราชบัญญัติได้รับความเห็นชอบของรัฐสภา
  หนังสือยืนยันไปยังเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๘๔๑๕ ลงวันที่ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๔๒
  ประกาศราชกิจจานุเบกษา ประเภท ก ฉบับกฤษฎีกา
  เล่มที่ ๑๑๖ ตอน ๑๒๓ก หน้าที่ - วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๔๒ พุทธศักราช ๒๕๔๒

สถานภาพของร่างฯ เห็นชอบประกาศใช้เป็นกฎหมาย