สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล เป็นการยกร่างกฎหมายขึ้นมาใหม่ เพื่อกำหนดความผิดฐานฟอกเงินเมื่อมีความผิดจากการได้นำเงิน หรือทรัพย์สินที่เกี่ยวกับการกระทำความผิดในรูปแบบต่าง ๆ โดยกำหนดคำนิยาม บททั่วไป การรายงาน และการแสดงตนของสถาบันการเงิน คณะกรรมการป้องกันและปราบปราม การฟอกเงิน โดยกำหนด อำนาจหน้าที่วาระการดำรงตำแหน่งของ คณะกรรมการฯ กำหนดคณะกรรมการธุรกรรมเกี่ยวกับการ ทำนิติกรรม สัญญา หรือการดำเนินในทางการเงิน ในมาตรา ๓๙ กำหนดให้มีการจัดตั้งสำนักงานป้องกัน และปราบปรามการฟอกเงินขึ้นในกระทรวงการคลังและอำนาจหน้าที่รวมทั้งการจัดทำรายงานผล การปฏิบัติงานประจำปีเสนอต่อคณะรัฐมนตรีตามพระราชบัญญัตินี้ หรือตามกฎหมายอื่น กำหนดการดำเนิน การเกี่ยวกับทรัพย์สิน โดยให้คณะกรรมการธุรกรรมมีอำนาจสั่งยึดหรืออายัดทรัพย์สินทั้งนี้ให้นำประมวล กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาบังคับใช้ โดยอนุโลม และกำหนดบทลงโทษไว้
ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี
เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ๐๒๐๔/๘๓๖๖ ลงวันที่ ๑๒ มิถุนายน ๒๕๔๐
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๑๑๗/๒๕๔๐ ลงวันที่ ๑๒ มิถุนายน ๒๕๔๐
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นางสาวมงคลรัตน์ ผลสิริ  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( / ) เป็น        ( ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล การกำหนดให้มีการจัดตั้งสำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน ขึ้นในกระทรวงการคลัง มีผลให้รัฐต้องจัดสรรเงินงบประมาณรายจ่าย ของแผ่นดินมาดำเนินการ

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๑ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันพุธที่ ๒ กรกฎาคม ๒๕๔๐
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๑๑ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันพุธที่ ๖ สิงหาคม ๒๕๔๐
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๖ คน

  พิจารณาร่างพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายกฤษฎาง แถวโสภา ๒. ศาสตราจารย์คณิต ณ นคร
๓. นายจรัญ ภักดีธนากุล ๔. นายจิรนิติ หะวานนท์
๕. นายชัชวาลย์ ชมภูแดง ๖. นายณรงค์เลิศ สุรพล
๗. นายถาวร เสนเนียม ๘. รองศาสตราจารย์ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ
๙. นายทศพล สังขทรัพย์ ๑๐. นายธวัชชัย ยงกิตติคุณ
๑๑. นายนพดล เชื้อแก้ว ๑๒. นายเนวิน ชิดชอบ
๑๓. นายบรรเทิง ตันติวิท ๑๔. นายบุรินทร์ หิรัญบูรณะ
๑๕. นายประวิช รัตนเพียร ๑๖. นายประสาท ตันประเสริฐ
๑๗. นายปรีชา สุวรรณทัต ๑๘. นางปานตา ศิริวัฒน์
๑๙. นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค ๒๐. นายมานิต วิทยาเต็ม
๒๑. นายยงยุทธ ติยะไพรัช ๒๒. นายเรวัต สิรินุกุล
๒๓. นายวสันต์ เทียนหอม ๒๔. นายวิชัย ชัยจิตวณิชกุล
๒๕. นายวิเชษฐ์ เกษมทองศรี ๒๖. นายวิเชียร รัตนพีระพงษ์
๒๗. นายวีระกร คำประกอบ ๒๘. รองศาสตราจารย์วีระพงษ์ บุญโญภาส
๒๙. นายวีระพล อดิเรกสาร ๓๐. นายศุภสิทธิ์ เตชะตานนท์
๓๑. นายสรสิทธิ์ แสงประเสริฐ ๓๒. นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย
๓๓. นายสุทัศน์ เงินหมื่น ๓๔. นายสุเทพ ดีบุญมี ณ ชุมแพ
๓๕. นายสุรวิทย์ คนสมบูรณ์ ๓๖. นายอลงกรณ์ พลบุตร
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๓๒๓ ลงวันที่ ๘ สิงหาคม ๒๕๔๐
  กำหนดแปรญัตติ ๑๕ วัน สิ้นสุดวันที่ ๒๑ สิงหาคม ๒๕๔๐
  ใช้ร่างพระราชบัญญัติของ คณะรัฐมนตรี เป็นหลักในการพิจารณา

  ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกัน
  เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๑๑๗/๒๕๔๐ ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี (ร่างฯหลัก)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๑๙/๒๕๔๐ ผู้เสนอ นายปรีชา  สุวรรณทัต (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๑๕๔/๒๕๔๐ ผู้เสนอ นายวิชัย  ชัยจิตวณิชกุล (ร่างฯทำนองเดียวกัน)

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๔๑
  ผลการพิจารณา ( / ) มีข้อสังเกต        ( ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๓๐๔๕/๒๕๔๑      ลงวันที่ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๔๑

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๔ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๔๑
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๔ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๔๑ ถึง วันพุธที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๔๑
  มติ ( / ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ

กรณีมีข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการ
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๔ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๔๑
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับข้อสังเกต     ( ) ไม่เห็นด้วยกับข้อสังเกต

หนังสือยืนยันไปยังวุฒิสภา ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๕๒๔๘ ลงวันที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๔๑

การพิจารณาของวุฒิสภา
  เลขทะเบียนรับ (กองกลาง สว.) ๐๐๑๗/๒๕๔๑ ลงวันที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๔๑
  เลขทะเบียนรับ (กองการประชุม สว.) ๐๒๓๘/๒๕๔๑ ลงวันที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๔๑
  เลขทะเบียนรับ (ฝ่ายญัตติ สว.) ๐๐๒๐/๒๕๔๑ ลงวันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๔๑
  พิจารณาให้เสร็จภายใน ๓๐ วัน         ครบกำหนดวันที่ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๑
  นิติกรฝ่ายวุฒิสภา นายสราวุธ สุธราพันธ์

การพิจารณาก่อนรับหลักการของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) ให้ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ     ( / ) ไม่ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ
การพิจารณาวาระที่ ๑ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๔ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๔๑
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๔ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๔๑
  มติ ( / ) เห็นชอบด้วยกับหลักการ        ( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับหลักการ

ส่งคณะกรรมาธิการ
  ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๕ คน
  พิจารณาร่างพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายกำธร อุดมฤทธิรุจ ๒. นายเกษม สรศักดิ์เกษม
๓. นายไชยยศ เหมะรัชตะ ๔. นายดุสิต ศิริวรรณ
๕. คุณหญิงนันทกา สุประภาตะนันทน์ ๖. นายนิพนธ์ วิสิษฐยุทธศาสตร์
๗. นายบัณฑูร ล่ำซำ ๘. นายปกิต พัฒนกุล
๙. นายไพศาล กุมาลย์วิสัย ๑๐. นายเรวัติ ฉ่ำเฉลิม
๑๑. พลตำรวจเอก วสิษฐ เดชกุญชร ๑๒. นายวัฒนา รัตนวิจิตร
๑๓. นายวัลลภ ตังคณานุรักษ์ ๑๔. นายวิจิตร ศรีสอ้าน
๑๕. นายวิชัย โถสุวรรณจินดา ๑๖. นายวิษณุ เครืองาม
๑๗. นายสถิตย์ ลิ่มพงศ์พันธุ์ ๑๘. นายสรรเสริญ ไกรจิตติ
๑๙. นายสรสิทธิ์ แสงประเสริฐ ๒๐. พลตำรวจเอกสันต์ ศรุตานนท์
๒๑. นายสุชน ชาลีเครือ ๒๒. นายสุชาติ ไตรประสิทธิ์
๒๓. พลเรือเอก สุรวุฒิ มหารมณ์ ๒๔. นายอำนาจ สอนอิ่มสาตร์
๒๕. นายโอสถ โกศิน

  หนังสือยืนยันมติ ที่ สว ๐๐๐๘ / ว ๑๗๘๘ ลงวันที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๔๑
  กำหนดการแปรญัตติ วัน
  การขอขยายระยะเวลาเป็นกรณีพิเศษ
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๑ ๓๐ วัน
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๒ วัน
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๓ วัน

  สิ้นสุดวันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๔๑

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๔๑
  ผลการพิจารณา               ( / ) มีข้อสังเกต        ( ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๙/ (ร ๖๕) ลงวันที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๔๑

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๙ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๔๑
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๙ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๔๑
  มติ ( ) เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( / ) แก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ

กรณีมีข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวุฒิสภา
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๙ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๔๑
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับข้อสังเกต       ( ) ไม่เห็นด้วยกับข้อสังเกต
  หนังสือส่งข้อสังเกตของกรรมาธิการไปยังเลขาธิการฯ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๒๒๑๑ ลงวันที่ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๑

  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๒๑๖๘ (ด่วนมาก) ลงวันที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๔๑

กรณีวุฒิสภาลงมติแก้ไขเพิ่มเติม
สภาผู้แทนราษฎรเห็นว่าเป็นการแก้ไขเพิ่มเติมในสาระสำคัญหรือกรณีอื่น และไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม
  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๒๑๖๘ (ด่วนมาก) ลงวันที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๔๑
  สภาผู้แทนราษฎรรับที่ ๒๘๕/๒๕๔๑ ลงวันที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๔๑
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๒๖ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๑  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๒๖ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๑  
  มติ ( ) เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม ( / ) ไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม

  สภาผู้แทนราษฎรกำหนดกรรมาธิการร่วมกันฝ่ายละ ๑๐ คน
  ร่วมกันเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการฝ่ายสภาผู้แทนราษฎรประกอบด้วย
 
๑. นายขจิตร ชัยนิคม ๒. นายจาตุรนต์ ฉายแสง
๓. นายชัย ชิดชอบ ๔. นายณรงค์เลิศ สุรพล
๕. นางสาวธารทอง ทองสวัสดิ์ ๖. นายประยุทธ์ ศิริพานิชย์
๗. นายปรีชา สุวรรณทัต ๘. นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค
๙. นายวีระกร คำประกอบ ๑๐. นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย

  หนังสือสภาผู้แทนราษฎรแจ้งจำนวนกรรมาธิการร่วมกัน ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๗๓๕๙ ลงวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๔๑
  วุฒิสภารับที่ ๑๕๗/๒๕๔๑ ลงวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๔๑

  ร่วมกันเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการฝ่ายวุฒิสภาประกอบด้วย
 
๑. นายเกษม สรศักดิ์เกษม ๒. นายดุสิต ศิริวรรณ
๓. นายนิพนธ์ วิสิษฐยุทธศาสตร์ ๔. นายไพศาล กุมาลย์วิสัย
๕. พลตำรวจเอก วสิษฐ เดชกุญชร ๖. นายวัฒนา รัตนวิจิตร
๗. นายวิชัย โถสุวรรณจินดา ๘. นายสรรเสริญ ไกรจิตติ
๙. นายสุชน ชาลีเครือ ๑๐. นายอำนาจ สอนอิ่มสาตร์

  หนังสือวุฒิสภาแจ้งการตั้งกรรมาธิการร่วมกัน ที่ สว ๐๐๐๘ / ๒๘๖๑ ลงวันที่ ๘ ธันวาคม ๒๕๔๑

  คณะกรรมาธิการร่วมกันพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวัน ๘ มีนาคม ๒๕๔๒  
  ผลการพิจารณา ( ) มีข้อสังเกต       ( ) ไม่มีข้อสังเกต  
หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการร่วมกันไปยังสภาผู้แทนราษฎร ๑๒๑๗/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๘ มีนาคม ๒๕๔๒

ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๓๑ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๔๒  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๓๑ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๔๒
  มติ ( / ) เห็นชอบ       ( ) ไม่เห็นชอบ  
  หนังสือสภาผู้แทนราษฎรแจ้งกลับไปยังวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๘ / ๒๔๑๓ ลงวันที่ ๑๘ มีนาคม ๒๕๔๒

ที่ประชุมวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๑๖ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๔๒  
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๖ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๔๒
  มติ ( / ) เห็นชอบ       ( ) ไม่เห็นชอบ  
  หนังสือแจ้งจากวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๘ / ๐๐๗๕๐ ลงวันที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๔๒

ร่างพระราชบัญญัติได้รับความเห็นชอบของรัฐสภา
  หนังสือยืนยันไปยังเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๒๕๔๒ ลงวันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๔๒
  ประกาศราชกิจจานุเบกษา ประเภท ก ฉบับกฤษฎีกา
  เล่มที่ ๑๑๖ ตอน ๒๙ ก หน้าที่ - วันที่ ๒๑ เมษายน ๒๕๔๒ พุทธศักราช ๒๕๔๒

สถานภาพของร่างฯ เห็นชอบประกาศใช้เป็นกฎหมาย