สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๑๙ ปี พ.ศ. ๒๕๓๘

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติการศึกษาพื้นฐาน พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล ยกเลิกพระราชบัญญัติประถมศึกษา พ.ศ. ๒๕๒๓ พระราชบัญญัติคณะกรรมการ ประถมศึกษา พ.ศ. ๒๕๒๓ และพระราชบัญญัติคณะกรรมการประถมศึกษา (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๓๕ เพื่อความเหมาะสมกับกาลสมัย สอดคล้องกับ สถานการณ์บ้านเมือง เพื่อความคล่องตัวต่อการจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับความต้องการของประชาชนและท้องถิ่นอย่างเหมาะสม
ผู้เสนอ
๑. นายขจิตร ชัยนิคม ๒. นายวิทยา ภูมิเหล่าแจ้ง
๓. นายเปรมศักดิ์ เพียยุระ ๔. นายวิชัย ชัยจิตวณิชกุล
๕. นายเฉลิมพล สนิทวงศ์ชัย
พรรค ความหวังใหม่
ผู้รับรอง
๑. นายชิงชัย มงคลธรรม ๒. นางกิ่งกาญจน์ ณ เชียงใหม่
๓. นายสังข์ทอง ศรีธเรศ ๔. นายมานะ คูสกุล
๕. นายสุดิน ภูยุทธานนท์ ๖. นายสุรพร ดนัยตั้งตระกูล
๗. นายอุดม ไกรวัตนุสสรณ์ ๘. นายอรรถสิทธิ์ ทรัพยสิทธิ์
๙. นายทศพร มูลศาสตรสาทร ๑๐. นายเศกสิทธิ์ ไวนิยมพงศ์
๑๑. นายประยุทธ นิจพานิชย์ ๑๒. นายมานพ จรัสดำรงนิตย์
๑๓. นายไพจิต ศรีวรขาน ๑๔. นายระวี กิ่งคำวงศ์
๑๕. นายตุ่น จินตะเวช ๑๖. นายมนตรี ด่านไพบูลย์
๑๗. พันโท อรุณ ชาลีรินทร์ ๑๘. นางศรีนวล ศรีตรัย
๑๙. นายบูราฮานูดิน อุเซ็ง ๒๐. พันตำรวจโท อดุลย์ บุญเสรฐ

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๓๙
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๑๑๖/๒๕๓๙ ลงวันที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๓๙
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นายธวัช ขันธวิทย์  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( ) เป็น        ( ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
หมายเหตุ อยู่ระหว่างการดำเนินการของเจ้าหน้าที่ ระหว่างนั้นมีพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๓๙ จึงทำให้ร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวตกไป
สถานภาพของร่างฯ ยุบสภา