สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติมาตราชั่งตวงวัด พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล เป็นการยกร่างกฎหมายขึ้นใหม่ โดยยกเลิกกฎหมายเดิม จึงสมควร ปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยมาตราชั่งตวงวัด โดยแก้ไขเพิ่มเติมบทนิยามกำหนดอำนาจของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ให้รักษาการตาม พระราชบัญญัตินี้ กำหนดแบบมาตรา การแบ่งชั้นแบบมาตราและวิธีการ ใช้แบบมาตรา เพื่อให้เป็นไปตามหลักสากล แก้ไขให้การประกอบธุรกิจเกี่ยวกับเครื่องชั่งตวงวัดสามารถกระทำได้เมื่อผู้ประกอบธุรกิจได้รับ หนังสือรับรองการประกอบธุรกิจและกำหนดสิทธิ หน้าที่และหลักเกณฑ์ ที่ผู้ประกอบธุรกิจต้องปฏิบัติเพื่อลดมาตราการควบคุมของรัฐมาเป็น การกำกับดูแลเพิ่มเติมบทบัญญัติที่ให้อำนาจอธิบดีในการมอบให้ หน่วยงานอื่นทั้งในและต่างประเทศหรือระหว่างประเทศทำการ ตรวจสอบเครื่องชั่งตวงวัดได้เพื่อความรวดเร็วในการให้คำรับรองกำหนดให้เครื่องชั่งตวงวัดหรือสินค้าหีบห่อที่นายตรวจชั่งตวงวัดยึดไว้ ตกเป็นของกรมทะเบียนการค้าในกรณีที่ไม่ปรากฎเจ้าของหรือ ผู้ครอบครอง กำหนดให้มีการยกเว้นเครื่องชั่งตวงวัดที่ผลิตเพื่อส่งออก ไม่ต้องตรวจสอบให้คำรับรองเพื่อส่งเสริมการผลิตเพื่อการส่งออก แก้ไขบทกำหนดโทษ อัตราโทษและอัตราค่าธรรมเนียม
ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี
เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ๐๒๐๔/๘๓๖๔ ลงวันที่ ๑๒ มิถุนายน ๒๕๔๐
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๑๑๕/๒๕๔๐ ลงวันที่ ๑๒ มิถุนายน ๒๕๔๐
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นางสุภาวดี ตันตระกูล  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( / ) เป็น        ( ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล การปรับปรุงอัตราค่าธรรมเนียมเพิ่มขึ้นตามร่างพระราชบัญญัตินี้ มีผลทำให้รัฐมีรายรับเพิ่มมากขึ้น

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๑ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันพุธที่ ๒ กรกฎาคม ๒๕๔๐
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๑๘ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๑
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๗ คน

  พิจารณาร่างพระราชบัญญัติมาตราชั่งตวงวัด พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นางกิ่งกาญจน์ ณ เชียงใหม่ ๒. นายชลอ เฟื่องอารมย์
๓. นายชัย ชิดชอบ ๔. นายณรงค์ ภูอิทธิวงศ์
๕. นายธัญ การวัฒนาศิริกุล ๖. นางสาวธารทอง ทองสวัสดิ์
๗. นายเธียร มโนหรทัต ๘. นายนรวัฒน์ สุวรรณ
๙. นายบุญเกิด หิรัญคำ ๑๐. นายประเทือง ปานลักษณ์
๑๑. นายประมวลศิลป์ โภคสวัสดิ์ ๑๒. นายพิชาญ พิบูลย์วัฒนวงษ์
๑๓. นางสาวพูนสุข โลหะโชติ ๑๔. นางมณีวรรณ พรหมน้อย
๑๕. นายยรรยง พวงราช ๑๖. นายลาภศักดิ์ ลาภาโรจน์กิจ
๑๗. นายวัลลภ สุปริยศิลป์ ๑๘. นายวิทยา ภูมิเหล่าแจ้ง
๑๙. นายวิสาร เตชะธีราวัฒน์ ๒๐. นายวีระศักดิ์ วิสุทธาธรรม
๒๑. นายสุพัฒน์ ธรรมเพชร ๒๒. นายสุมิตร สุนทรเวช
๒๓. นายสุรเชษฐ์ แวอาแซ ๒๔. นายสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล
๒๕. นายสุรวิทย์ คนสมบูรณ์ ๒๖. นายอิสสระ สมชัย
๒๗. นายอุดม ไกรวัตนุสสรณ์
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๓๑ ลงวันที่ ๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๑
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่ ๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๑

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๔๑
  ผลการพิจารณา ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๒๑๐๓/๒๕๔๑      ลงวันที่ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๔๑

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๔ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๔๑
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๖ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๔๑
  มติ ( / ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ

หนังสือยืนยันไปยังวุฒิสภา ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๔๙๘๘ ลงวันที่ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๔๑

การพิจารณาของวุฒิสภา
  เลขทะเบียนรับ (กองกลาง สว.) ๐๐๑๕/๒๕๔๑ ลงวันที่ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๔๑
  เลขทะเบียนรับ (กองการประชุม สว.) ๐๒๓๑/๒๕๔๑ ลงวันที่ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๔๑
  เลขทะเบียนรับ (ฝ่ายญัตติ สว.) ๐๐๑๘/๒๕๔๑ ลงวันที่ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๔๑
  พิจารณาให้เสร็จภายใน ๓๐ วัน         ครบกำหนดวันที่ ๒๘ สิงหาคม ๒๕๔๑
  นิติกรฝ่ายวุฒิสภา นางวัชรี สินธวานุวัฒน์

การพิจารณาก่อนรับหลักการของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) ให้ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ     ( / ) ไม่ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ
การพิจารณาวาระที่ ๑ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๓ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๔๑
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๓ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๔๑
  มติ ( / ) เห็นชอบด้วยกับหลักการ        ( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับหลักการ

ส่งคณะกรรมาธิการ
  ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( / ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน คน
  คณะกรรมาธิการการบริหารและการยุติธรรม
คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายสมลักษณ์ อัศวเหม ๒. นายสรรเสริญ ไกรจิตติ
๓. นายไพศาล กุมาลย์วิสัย ๔. นายเผ่าเทพ อุปการนิติเกษตร
๕. นายเกษม สรศักดิ์เกษม ๖. นายกิรินทร์ ชัชวาลวงศ์
๗. นายกรพจน์ อัศวินวิจิตร ๘. นายพูนศักดิ์ วรรณพงษ์
๙. นายรัตน์ ศรีไกรวิน ๑๐. พลตำรวจเอก วสิษฐ เดชกุญชร
๑๑. นายวิษณุ เครืองาม ๑๒. นายวีระชัย สูตรสุวรรณ
๑๓. พลเอก ศิรินทร์ ธูปกล่ำ ๑๔. พลอากาศเอก สมศักดิ์ เวสุวรรณ์
๑๕. พลเรือโท สำราญ อ่ำสำอางค์ ๑๖. นายสุชาติ ไตรประสิทธิ์
๑๗. นายอุดล บุญประกอบ

  หนังสือยืนยันมติ ที่ สว ๐๐๐๘ / ๑๗๑๗ ลงวันที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๔๑
  กำหนดการแปรญัตติ วัน
  สิ้นสุดวันที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๔๑

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๒๘ สิงหาคม ๒๕๔๑
  ผลการพิจารณา               ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๙/(ร๖๑) ลงวันที่ ๒๘ สิงหาคม ๒๕๔๑

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๘ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๔๑
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๘ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๔๑
  มติ ( ) เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( / ) แก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ

  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๒๑๒๑ (ด่วนมาก) ลงวันที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๔๑

กรณีวุฒิสภาลงมติแก้ไขเพิ่มเติม
สภาผู้แทนราษฎรเห็นว่าเป็นการแก้ไขเพิ่มเติมในสาระสำคัญหรือกรณีอื่น และไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม
  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๒๑๒๑ (ด่วนมาก) ลงวันที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๔๑
  สภาผู้แทนราษฎรรับที่ ๒๗๒/๒๕๔๑ ลงวันที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๔๑
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๒๖ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๑  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๒๖ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๑  
  มติ ( ) เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม ( / ) ไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม

  สภาผู้แทนราษฎรกำหนดกรรมาธิการร่วมกันฝ่ายละ ๑๐ คน
  พิจารณาร่างพระราชบัญญัตติมาตราชั่งตวงวัด พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการฝ่ายสภาผู้แทนราษฎรประกอบด้วย
 
๑. นายชัย ชิดชอบ ๒. นายนพดล ปัทมะ
๓. นายประยุทธ์ ศิริพานิชย์ ๔. นายปรีชา สุวรรณทัต
๕. นายปิยะ อังกินันทน์ ๖. นายพิชาญ พิบูลย์วัฒนวงษ์
๗. นายวิเชษฐ์ เกษมทองศรี ๘. นายวิเชียร คันฉ่อง
๙. นายวิทยา ภูมิเหล่าแจ้ง ๑๐. นายอุดม ไกรวัตนุสสรณ์

  หนังสือสภาผู้แทนราษฎรแจ้งจำนวนกรรมาธิการร่วมกัน ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๓๐๙ ลงวันที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๔๑
  วุฒิสภารับที่ ๑๕๕/๒๕๔๑ ลงวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๔๑

  ร่วมกันเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการฝ่ายวุฒิสภาประกอบด้วย
 
๑. นายโกวิท วรพิพัฒน์ ๒. นายนรนิติ เศรษฐบุตร
๓. คุณหญิงนันทกา สุประภาตะนันทน์ ๔. นายพชร ยุติธรรมดำรง
๕. นายไพศาล กุมาลย์วิสัย ๖. นายวัฒนา รัตนวิจิตร
๗. นายวิจิตร ศรีสอ้าน ๘. นายวิษณุ เครืองาม
๙. นายสิปปนนท์ เกตุทัต ๑๐. นายสุรัฐ ศิลปอนันต์

  หนังสือวุฒิสภาแจ้งการตั้งกรรมาธิการร่วมกัน ที่ สว ๐๐๐๘ / ๒๘๕๘ ลงวันที่ ๘ ธันวาคม ๒๕๔๑

  คณะกรรมาธิการร่วมกันพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวัน ๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒  
  ผลการพิจารณา ( ) มีข้อสังเกต       ( / ) ไม่มีข้อสังเกต  
หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการร่วมกันไปยังสภาผู้แทนราษฎร ๗๗๕/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒

ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๒๕ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๒๕ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒
  มติ ( / ) เห็นชอบ       ( ) ไม่เห็นชอบ  
  หนังสือสภาผู้แทนราษฎรแจ้งกลับไปยังวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๘ / ๑๖๗๘ ลงวันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒

ที่ประชุมวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๑๓ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒  
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๓ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒
  มติ ( / ) เห็นชอบ       ( ) ไม่เห็นชอบ  
  หนังสือแจ้งจากวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๘ / ๕๔๕ ลงวันที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒

ร่างพระราชบัญญัติได้รับความเห็นชอบของรัฐสภา
  หนังสือยืนยันไปยังเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๑๙๐๔ ลงวันที่ ๘ มิถุนายน ๒๕๔๒
  ประกาศราชกิจจานุเบกษา ประเภท ก ฉบับกฤษฎีกา
  เล่มที่ ๑๑๖ ตอน ๒๙ ก หน้าที่ - วันที่ ๒๑ เมษายน ๒๕๔๒ พุทธศักราช ๒๕๔๒

สถานภาพของร่างฯ เห็นชอบประกาศใช้เป็นกฎหมาย