สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติโรคระบาดสัตว์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล เนื่องจากพระราชบัญญัติโรคระบาดสัตว์ พ.ศ. ๒๔๙๙ ได้ใช้บังคับ มาเป็นเวลานานแล้ว ทำให้บทบัญญัติบางส่วนมีความไม่เหมาะสมกับสภาพในปัจจุบัน สมควรที่จะปรับปรุงกฎหมาย ขึ้นใหม่ โดยกำหนดมาตรการในการควบคุมการประกอบธุรกิจเกี่ยวกับเอ็มบริโอหรือ ตัวอ่อนของสัตว์ ซึ่งเป็นพาหะให้เกิดโรคระบาดสัตว์อย่างหนึ่งด้วยรวมทั้งสมควรปรับปรุงอำนาจหน้าที่ของสัตว์แพทย์ สารวัตร และ อธิบดี ในการควบคุมโรคระบาดสัตว์ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และ ปรับปรุงอัตราโทษ ให้สูงขึ้นเพื่อให้เกิดผลบังคับตามพระราชบัญญัตินี้ได้อย่างจริงจังและปรับปรุงอัตราค่าธรรมเนียมเสียใหม่ ให้สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจในปัจจุบัน
ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี
เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ๐๒๐๔/๘๓๖๑ ลงวันที่ ๑๒ มิถุนายน ๒๕๔๐
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๑๑๒/๒๕๔๐ ลงวันที่ ๑๒ มิถุนายน ๒๕๔๐
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นายนพคุณ นพรัตน์  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( / ) เป็น        ( ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล มีการปรับปรุงอัตราค่าธรรมเนียมถือว่าเป็นรายรับของแผ่นดิน ทำให้รัฐมีรายรับเพิ่มขึ้น

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๑ (สมัยสามัญ ครั้งที่สอง) วันพุธที่ ๒ กรกฎาคม ๒๕๔๐
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๒๐ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพฤหัสบดีที่ ๓ กันยายน ๒๕๔๑
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ
    คะแนนเสียง รับหลักการ ๑๙๘

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๗ คน

  พิจารณาร่างพระราชบัญญัติโรคระบาดสัตว์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นางสาวกัญจนา ศิลปอาชา ๒. นายเจริญ จรรย์โกมล
๓. นายชูวิทย์ พิทักษ์พรพัลลภ ๔. นายตรีพล เจาะจิตต์
๕. นายทองคำ รอดพ่าย ๖. นายบุญช่วย จันดาวาปี
๗. นายประสาท ตันประเสริฐ ๘. นายพงษ์อุดม ตรีสุขี
๙. นางสาวพวงเพชร สารคุณ ๑๐. นายพินัย มุสิกูล
๑๑. นายไพจิต ศรีวรขาน ๑๒. นางมุกดา พงษ์สมบัติ
๑๓. นายยุทธนา ศรีตะบุตร ๑๔. นายรักษ์ ด่านกุล
๑๕. นางวรศุลี เชาว์ศิริกุล ๑๖. ร้อยตรี วัฒนา แก้วศิริ
๑๗. นายวินัย เสนเนียม ๑๘. นายสงคราม เมืองมนตรี
๑๙. นายสมชาย จับบาง ๒๐. นายสมชาย สุนทรวัฒน์
๒๑. นายสำเริง วรศรี ๒๒. นายสืบแสง พรหมบุญ
๒๓. นายสุรชาติ ชำนาญศิลป์ ๒๔. นายสุรเชษฐ์ มาศดิตถ์
๒๕. นายสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล ๒๖. นายอลงกรณ์ มหรรณพ
๒๗. นางอัญชลี วานิช เทพบุตร
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๒๗๙ ลงวันที่ ๔ กันยายน ๒๕๔๑
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๔๑
  ใช้ร่างพระราชบัญญัติของ คณะรัฐมนตรี เป็นหลักในการพิจารณา

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๔๑
  ผลการพิจารณา ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๕๕๓๒/๒๕๔๑      ลงวันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๔๑

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๓๔ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๑ ตุลาคม ๒๕๔๑
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๙ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๖ มกราคม ๒๕๔๒
  มติ ( / ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ

หนังสือยืนยันไปยังวุฒิสภา ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๑๓๘ ลงวันที่ ๘ มกราคม ๒๕๔๒

การพิจารณาของวุฒิสภา
  เลขทะเบียนรับ (กองกลาง สว.) ๐๐๐๒/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๘ มกราคม ๒๕๔๒
  เลขทะเบียนรับ (กองการประชุม สว.) ๐๐๐๖/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๘ มกราคม ๒๕๔๒
  เลขทะเบียนรับ (ฝ่ายญัตติ สว.) ๐๐๐๒/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๘ มกราคม ๒๕๔๒
  พิจารณาให้เสร็จภายใน ๓๐ วัน         ครบกำหนดวันที่ ๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒
  นิติกรฝ่ายวุฒิสภา นายสุชาติ เวณุพุกกะณะ

การพิจารณาก่อนรับหลักการของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) ให้ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ     ( / ) ไม่ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ
การพิจารณาวาระที่ ๑ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๗ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๑๕ มกราคม ๒๕๔๒
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๗ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๑๕ มกราคม ๒๕๔๒
  มติ ( / ) เห็นชอบด้วยกับหลักการ        ( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับหลักการ

ส่งคณะกรรมาธิการ
  ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( / ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน คน
  คณะกรรมาธิการการเกษตรและสหกรณ์
คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายสมพล เกียรติไพบูลย์ ๒. นายสมาน โอภาสวงศ์
๓. นายนิวัฒน์ พ้นชั่ว ๔. นายอดิเรก ศรีประทักษ์
๕. นายวิบูลย์ เข็มเฉลิม ๖. นายทรง องค์ชัยวัฒนะ
๗. นายจริย์ ตุลยานนท์ ๘. นายเถลิง ธำรงนาวาสวัสดิ์
๙. นายทองดี นิคงรัมย์ ๑๐. นายบรม ตันเถียร
๑๑. นายประวิทย์ โรจนเพียรสถิต ๑๒. นายผจญ อุลปาทร
๑๓. นายยงยุทธ เลอลภ ๑๔. นายศิริชัย บูลกุล
๑๕. นายสุจินต์ จินายน ๑๖. นายสุลัยมาลย์ วงษ์พานิช

  หนังสือยืนยันมติ ที่ สว ๐๐๐๘ / ๑๐๘ ลงวันที่ ๑๕ มกราคม ๒๕๔๒
  กำหนดการแปรญัตติ วัน
  การขอขยายระยะเวลาเป็นกรณีพิเศษ
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๑ ๓๐ วัน
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๒ วัน
  การขอขยายเวลาครั้งที่ ๓ วัน

  สิ้นสุดวันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๔๒

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒
  ผลการพิจารณา               ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๙/(ร ๒๗) ลงวันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๑๔ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๔ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒
  มติ ( ) เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( / ) แก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ

  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๖๐๖ ลงวันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๔๒

กรณีวุฒิสภาลงมติแก้ไขเพิ่มเติม
สภาผู้แทนราษฏรเห็นว่ามิได้เป็นการแแก้ไขเพิ่มเติมในสาระสำคัญ และเห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม
  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๖๐๖ ลงวันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๔๒
  สภาผู้แทนราษฎรรับที่ ๙๑/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๔๒
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๒๙ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๔๒  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๒๙ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๔๒  
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม ( ) ไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม

สถานภาพของร่างฯ เห็นชอบประกาศใช้เป็นกฎหมาย