สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการสมยอมกันเสนอราคา พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล สมควรมีกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการสมยอมกันเสนอราคา ด้วยปรากฏว่า ในการจัดซื้อ จัดจ้างของหน่วยงานของรัฐ มีการสมยอมกันเสนอราคา ทำให้รัฐต้องสูญเสีย งบประมาณในปีหนึ่ง ๆ เป็นจำนวนมาก แม้หน่วยงานของรัฐจะพยายามไม่ให้มีการสมยอม กันเสนอราคา ก็ไม่อาจหามาตรการใดมาป้องกันได้อย่างเด็ดขาด และไม่มีกฎหมายใดที่จะ ลงโทษได้ เพื่อเป็นการแก้และลดปัญหาดังกล่าว โดยมอบหมายให้คณะกรรมการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตแห่งชาติเป็นผู้รับผิดชอบ
ผู้เสนอ
๑. ศาสตราจารย์มารุต บุนนาค ๒. นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย
๓. นายปรีชา สุวรรณทัต ๔. นายสุเทพ เทือกสุบรรณ
๕. นายสุวโรช พะลัง ๖. นางอัญชลี วานิช เทพบุตร
๗. นายชุมพล กาญจนะ ๘. นายประกอบ จิรกิติ
๙. นายธวัช วิชัยดิษฐ ๑๐. นางศิริวรรณ ปราศจากศัตรู
๑๑. นายชาญชัย อิสระเสนารักษ์ ๑๒. นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค
๑๓. นายจุติ ไกรฤกษ์ ๑๔. นายสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล
๑๕. นายทวี ไกรคุปต์ ๑๖. นายยงยุทธ ติยะไพรัช
๑๗. นายวิรัช ร่มเย็น ๑๘. นายนพดล ปัทมะ
พรรค ประชาธิปัตย์
ผู้รับรอง
๑. นายวิเชียร คันฉ่อง ๒. นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
๓. นายชำนิ ศักดิเศรษฐ์ ๔. นายมานะ มหาสุวีระชัย
๕. นายสมเกียรติ ฉันทวานิช ๖. นายปัญญา จีนาคำ
๗. นางสาวรัตนา อนันต์นาคินทร์ ๘. นางลดาวัลลิ์ วงศ์ศรีวงศ์
๙. นางสาวชรินรัตน์ พุทธปวน ๑๐.
๑๑. นายอาคม เอ่งฉ้วน ๑๒. นายลาภศักดิ์ ลาภาโรจน์กิจ
๑๓. นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ ๑๔. นายมาโนชญ์ วิชัยกุล
๑๕. นายทวี สุระบาล ๑๖. นายประวิช นิลวัชรมณี
๑๗. นายประเสริฐ มงคลศิริ ๑๘. นายธีระ สลักเพชร
๑๙. นายไพฑูรย์ แก้วทอง ๒๐. นายรักษ์ ตันติสุนทร

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๒ กันยายน ๒๕๔๑
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๑๐๙/๒๕๔๑ ลงวันที่ ๒ กันยายน ๒๕๔๑
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นางสุภาวดี ตันตระกูล  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( ) เป็น        ( / ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล การกำหนดให้มีกฎหมายก็เพื่อกำหนดมาตราการวิธีปฏิบัติและบทลงโทษแก่ผู้กระทำการ สมยอมราคา จึงไม่กระทบต่องบประมาณแผ่นดิน

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๒๑ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๙ กันยายน ๒๕๔๑
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๓๘ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพฤหัสบดีที่ ๘ เมษายน ๒๕๔๒
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๗ คน

  พิจารณาร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายเกษม รุ่งธนเกียรติ ๒. นายจรูญ จันทร์จำรัสแสง
๓. นายจตุรงค์ ปัญญาดิลก ๔. นายไชยวัฒน์ ไตรยสุนันท์
๕. นายไชยา สะสมทรัพย์ ๖. รองศาสตราจารย์ณรงค์ อยู่ถนอม
๗. นายนิรันดร์ นาเมืองรักษ์ ๘. นายประกอบ จิรกิติ
๙. นายประยุทธ์ ศิริพานิชย์ ๑๐. นายเปรมศักดิ์ เพียยุระ
๑๑. นายพิษณุ พลไวย์ ๑๒. นายภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ
๑๓. นายยงยุทธ ติยะไพรัช ๑๔. นางวรศุลี เชาว์ศิริกุล
๑๕. นายวิเชษฐ์ เกษมทองศรี ๑๖. พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์
๑๗. นายวิลาศ จันทร์พิทักษ์ ๑๘. พันตำรวจโท ไวพจน์ อาภรณ์รัตน์
๑๙. นายสมบัติ พรหมเมศร์ ๒๐. พลตำรวจเอกสันต์ ศรุตานนท์
๒๑. ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุธรรม อยู่ในธรรม ๒๒. นายสุธี กรกมลพฤกษ์
๒๓. นายสุรชาติ ชำนาญศิลป์ ๒๔. นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
๒๕. นายอัชพร จารุจินดา ๒๖. นายอำนวย คลังผา
๒๗. นายอิทธิ ศิริลัทธยากร
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๑๒๒ ลงวันที่ ๙ เมษายน ๒๕๔๒
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่ ๑๕ เมษายน ๒๕๔๒
  ใช้ร่างพระราชบัญญัติของ คณะรัฐมนตรี เป็นหลักในการพิจารณา

  ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกัน
  เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๒๑/๒๕๔๒ ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี (ร่างฯหลัก)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๙๓/๒๕๔๑ ผู้เสนอ นายวิเชษฐ์  เกษมทองศรี (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๑๐๙/๒๕๔๑ ผู้เสนอ ศาสตราจารย์มารุต  บุนนาค (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๑๖๖/๒๕๔๑ ผู้เสนอ นายเปรมศักดิ์  เพียยุระ (ร่างฯทำนองเดียวกัน)

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๒ กรกฎาคม ๒๕๔๒
  ผลการพิจารณา ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๔๓๙๙/๒๕๔๒      ลงวันที่ ๒ กรกฎาคม ๒๕๔๒

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๕ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๔๒
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๕ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๔๒
  มติ ( / ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ

หนังสือยืนยันไปยังวุฒิสภา ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๕๒๔๐ ลงวันที่ ๙ กรกฎาคม ๒๕๔๒

การพิจารณาของวุฒิสภา
  เลขทะเบียนรับ (กองกลาง สว.) ๐๐๔๖/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๙ กรกฎาคม ๒๕๔๒
  เลขทะเบียนรับ (กองการประชุม สว.) ๐๑๐๗/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๙ กรกฎาคม ๒๕๔๒
  เลขทะเบียนรับ (ฝ่ายญัตติ สว.) ๐๐๕๑/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๙ กรกฎาคม ๒๕๔๒
  พิจารณาให้เสร็จภายใน ๖๐ วัน         ครบกำหนดวันที่ ๗ กันยายน ๒๕๔๒
  นิติกรฝ่ายวุฒิสภา นายสุชาติ เวณุพุกกะณะ

การพิจารณาก่อนรับหลักการของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) ให้ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ     ( / ) ไม่ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ
การพิจารณาวาระที่ ๑ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๕ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๔๒
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๕ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๔๒
  มติ ( / ) เห็นชอบด้วยกับหลักการ        ( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับหลักการ

ส่งคณะกรรมาธิการ
  ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๕ คน
  วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายกิรินทร์ ชัชวาลวงศ์ ๒. นายเกษม รุ่งธนเกียรติ
๓. นายเกษม สรศักดิ์เกษม ๔. นายจตุรงค์ ปัญญาดิลก
๕. นายชัยเชต สุนทรพิพิธ ๖. นายไชยวัฒน์ ไตรยสุนันท์
๗. นายชูวงศ์ ฉายะบุตร ๘. นายทวี หนุนภักดี
๙. นายนิเชต สุนทรพิทักษ์ ๑๐. นายนิพนธ์ วิสิษฐยุทธศาสตร์
๑๑. พลเอก บุญศักดิ์ กำแหงฤทธิรงค์ ๑๒. นายไพศาล กุมาลย์วิสัย
๑๓. นายรัตน์ ศรีไกรวิน ๑๔. นายลิขิต เทอดสถีรศักดิ์
๑๕. พลตำรวจเอก วสิษฐ เดชกุญชร ๑๖. นายวิษณุ เครืองาม
๑๗. นายวีระชัย สูตรสุวรรณ ๑๘. พลอากาศเอก วีระพงษ์ สิงหเสนี
๑๙. นายศิริ เกวลินสฤษดิ์ ๒๐. พลเอก ศิรินทร์ ธูปกล่ำ
๒๑. นายสรรเสริญ ไกรจิตติ ๒๒. นางสาวสุคนธ์ กาญจนาลัย
๒๓. นายเสรี สุขสถาพร ๒๔. นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
๒๕. นายอัชพร จารุจินดา

  หนังสือยืนยันมติ ที่ สว ๐๐๐๘ / ว ๑๘๓๘ ลงวันที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๔๒
  กำหนดการแปรญัตติ วัน
  สิ้นสุดวันที่ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๔๒

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๒๕ สิงหาคม ๒๕๔๒
  ผลการพิจารณา               ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๙/(ร ๑๑๒) ลงวันที่ ๒๕ สิงหาคม ๒๕๔๒

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๑๑ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๓ กันยายน ๒๕๔๒
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๑ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๓ กันยายน ๒๕๔๒
  มติ ( ) เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( / ) แก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ

  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๒๒๒๘ (ด่วนมาก) ลงวันที่ ๓ กันยายน ๒๕๔๒

กรณีวุฒิสภาลงมติแก้ไขเพิ่มเติม
สภาผู้แทนราษฏรเห็นว่ามิได้เป็นการแแก้ไขเพิ่มเติมในสาระสำคัญ และเห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม
  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๒๒๒๘ (ด่วนมาก) ลงวันที่ ๓ กันยายน ๒๕๔๒
  สภาผู้แทนราษฎรรับที่ ๓๓๕/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๓ กันยายน ๒๕๔๒
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๒๐ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๘ กันยายน ๒๕๔๒  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๒๕ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๔๒  
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม ( ) ไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม

สถานภาพของร่างฯ เห็นชอบประกาศใช้เป็นกฎหมาย