สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจขายตรง พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล เนื่องจากการประกอบธุรกิจขายตรงเป็นกลไกสำคัญในการกระจายสินค้าจากผู้ผลิตไปยัง ผู้บริโภคโดยอาศัยแผนการตลาดและเปิดโอกาสให้ผู้บริโภคมีส่วนร่วมในการประกอบธุรกิจ จึงก่อให้เกิดกรณีพิพาทระหว่างผู้บริโภคและผู้ประกอบธุรกิจการขายตรงที่มีเจตนาหลอก ลวงเอารัดเอาเปรียบผู้บริโภต เมื่อมีกรณีพิพาทเกิดขึ้น จึงต้องนำกฎหมายอื่นมาปรับใช้ จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
ผู้เสนอ
๑. นายทวีวัฒน์ ฤทธิ์ฤาชัย ๒. นายขจรธน จุดโต
๓. นายประกิจ พลเดช ๔. นายเอกพร รักความสุข
พรรค ความหวังใหม่
ผู้รับรอง
๑. นายเด่น โต๊ะมีนา ๒. นายถาวร ตรีรัตน์ณรงค์
๓. นายบุญเกิด หิรัญคำ ๔. นายวิชัย เอี่ยมวงศ์
๕. นายก่ำชุง ประภากรแก้วรัตน์ ๖. นายนิรันดร์ นาเมืองรักษ์
๗. นายสันติ พร้อมพัฒน์ ๘. นายธัญ การวัฒนาศิริกุล
๙. นายเอี่ยม ทองใจสด ๑๐. นายภูมิ สาระผล
๑๑. นายสุชาติ ศรีสังข์ ๑๒. ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง
๑๓. พันตำรวจโท ไวพจน์ อาภรณ์รัตน์ ๑๔. นายเกษม รุ่งธนเกียรติ
๑๕. นายเปรมศักดิ์ เพียยุระ ๑๖. นายวิชัย ชัยจิตวณิชกุล
๑๗. นายขจิตร ชัยนิคม ๑๘. ว่าที่พันตรี สรชาติ สุวรรณพรหม
๑๙. นายวิรัตน์ ตยางคนนท์ ๒๐. นายดนัยฤทธิ์ วัชราภรณ์
๒๑. นายอำนวย คลังผา ๒๒. นายพิชาญ พิบูลย์วัฒนวงษ์
๒๓. นายไพศาล จันทรภักดี

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๔๒
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๑๐๗/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๑ กันยายน ๒๕๔๒
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( ) เป็น        ( / ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล รัฐไม่ต้องจัดสรรเงินงบประมาณมาเพื่อดำเนินการ

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๒๕ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๔๒
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๓๔ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพฤหัสบดีที่ ๑๙ ตุลาคม ๒๕๔๓
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๑ คน

 
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๓๗๕ ลงวันที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๔๓
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่ ๒๒ ตุลาคม ๒๕๔๓
  ใช้ร่างพระราชบัญญัติของ คณะรัฐมนตรี เป็นหลักในการพิจารณา

  ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกัน
  เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๙๕/๒๕๔๓ ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี (ร่างฯหลัก)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๑๐๗/๒๕๔๒ ผู้เสนอ นายทวีวัฒน์  ฤทธิ์ฤาชัย (ร่างฯทำนองเดียวกัน)

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่
  ผลการพิจารณา ( ) มีข้อสังเกต        ( ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่      ลงวันที่

สถานภาพของร่างฯ ยุบสภา