สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติให้ใช้พระธรรมนูญศาลยุติธรรม พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล ให้มีกฎหมายให้ใช้พระธรรมนูญศาลยุติธรรม เนื่องจากมีการปรับปรุงกฎหมายพระธรรมนูญ ศาลยุติธรรม เพื่อให้เป็นไปตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ โดยบัญญัติให้พระธรรมนูญ ศาลยุติธรรมท้ายพระราชบัญญัตินี้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่พระราชบัญญัติให้ใช้พระธรรมนูญ ศาลยุติธรรมมีผลใช้บังคับ และให้คดีซึ่งได้รับฟ้องไว้ก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ซึ่ง จะนำบทบัญญัติว่าด้วยองค์คณะผู้พิพากษาซึ่งบัญญัติอยู่ในหมวด ๓ ของพระธรรมนูญศาล ยุติธรรมมาใช้บังคับนับแต่วันที่ ๑๑ ตุลาคม ๒๕๔๕ แม้ว่าในวันดังกล่าวคดีนั้นจะยังไม่ถึง ที่สุด เนื่องจากมาตรา ๓๓๕ (๕) ของรัฐธรรมนูญฯ ยกเว้นบทบัญญัติมาตรา ๒๓๖ ส่วนบรรดา พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ระเบียบ ข้อบังคับ และคำสั่งต่าง ๆ ของรัฐมนตรีซึ่งได้ใช้ บังคับอยู่ก่อน ให้คงใช้บังคับต่อไปจนกว่าจะมีประกาศ ระเบียบ หรือคำสั่งอื่นใช้บังคับแทน ให้ประธานศาลฎีการักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี
เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ๐๒๐๔/๑๑๔๕๙ ลงวันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๔๒
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๑๐๖/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๑ กันยายน ๒๕๔๒
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นางสาวนงทิพา ของสิริวัฒนกุล  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( ) เป็น        ( / ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล เป็นเพียงการกำหนดวิธีปฏิบัติของศาล เพื่อให้เป็นไปตามข้อบัญญัติตามรัฐธรรมนูญ และ เพื่อใหสอดคล้องกับการจัดระบบบริหารงานของศาลยุติธรรมตามมาตรา ๒๗๕ ซึ่งไม่กระทบ ต่องบประมาณของแผ่นดิน

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๒๐ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๘ กันยายน ๒๕๔๒
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๒๕ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๔๒
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๗ คน

  พิจารณาร่างพระราชบัญญัติให้ใช้พระธรรมนูญศาลยุติธรรม พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายจรัญ ภักดีธนากุล ๒. นายจำลอง ครุฑขุนทด
๓. นายเจริญ จรรย์โกมล ๔. นายชัย ชิดชอบ
๕. นายถวิล ไพรสณฑ์ ๖. นายถาวร เสนเนียม
๗. นายทิวา เงินยวง ๘. นายนิพนธ์ บุญญามณี
๙. นายนิพนธ์ ฮะกีมี ๑๐. นายบุญเขตร์ พุ่มทิพย์
๑๑. นายประกิจ พลเดช ๑๒. นายประจักษ์ พุทธิสมบัติ
๑๓. นายประยุทธ์ ศิริพานิชย์ ๑๔. นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค
๑๕. นายรังสรรค์ วิจิตรไกรสร ๑๖. นายรุ่งโรจน์ รักวงศ์
๑๗. นายวราเทพ รัตนากร ๑๘. นายวิทยา แก้วภราดัย
๑๙. นายวิรัช ศรีอินทรสุทธิ์ ๒๐. นายสถิตย์ ไพเราะ
๒๑. นายสุทัศน์ เงินหมื่น ๒๒. นายสุนัย จุลพงศธร
๒๓. นายสุประดิษฐ์ หุตะสิงห์ ๒๔. นายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์
๒๕. นายอรรถนิติ ดิษฐอำนาจ ๒๖. นายอรรถสิทธิ์ ทรัพยสิทธิ์
๒๗. นายอิสสระ สมชัย
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๓๔๑ ลงวันที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๔๒
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๔๒

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๒๔ ธันวาคม ๒๕๔๒
  ผลการพิจารณา ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๓๖๐๓/๒๕๔๒      ลงวันที่ ๒๔ ธันวาคม ๒๕๔๒

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๑๒ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๕ มกราคม ๒๕๔๓
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๑๒ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๕ มกราคม ๒๕๔๓
  มติ ( / ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ

หนังสือยืนยันไปยังวุฒิสภา ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๗๑ ลงวันที่ ๗ มกราคม ๒๕๔๓

การพิจารณาของวุฒิสภา
  เลขทะเบียนรับ (กองกลาง สว.) ๐๐๐๒/๒๕๔๓ ลงวันที่ ๗ มกราคม ๒๕๔๓
  เลขทะเบียนรับ (กองการประชุม สว.) ๐๐๐๒/๒๕๔๓ ลงวันที่ ๗ มกราคม ๒๕๔๓
  เลขทะเบียนรับ (ฝ่ายญัตติ สว.) ๐๐๐๒/๒๕๔๓ ลงวันที่ ๗ มกราคม ๒๕๔๓
  พิจารณาให้เสร็จภายใน ๖๐ วัน         ครบกำหนดวันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๔๓
  นิติกรฝ่ายวุฒิสภา นายรพีพงศ์ ภูชฎาภิรมย์

การพิจารณาก่อนรับหลักการของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) ให้ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ     ( / ) ไม่ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ
การพิจารณาวาระที่ ๑ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๘ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๒๑ มกราคม ๒๕๔๓
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๘ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๒๑ มกราคม ๒๕๔๓
  มติ ( / ) เห็นชอบด้วยกับหลักการ        ( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับหลักการ

ส่งคณะกรรมาธิการ
  ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๘ คน
  วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติให้ใช้พระธรรมนูญศาลยุติธรรม พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายเกษม สรศักดิ์เกษม ๒. นายจรัญ ภักดีธนากุล
๓. พลเอก จรัล กุลละวณิชย์ ๔. นายชูวงศ์ ฉายะบุตร
๕. คุณหญิงนันทกา สุประภาตะนันทน์ ๖. นายนิพนธ์ ฮะกีมี
๗. นายเผ่าเทพ อุปการนิติเกษตร ๘. นายพชร ยุติธรรมดำรง
๙. นายพินิต อารยะศิริ ๑๐. นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค
๑๑. นายพูนศักดิ์ วรรณพงษ์ ๑๒. นายไพศาล กุมาลย์วิสัย
๑๓. นายไพศิษฐ์ พิพัฒนกุล ๑๔. นายรัตน์ ศรีไกรวิน
๑๕. พลตำรวจเอก วสิษฐ เดชกุญชร ๑๖. นายวัฒนา รัตนวิจิตร
๑๗. นายวิชัย โถสุวรรณจินดา ๑๘. นายวีระชัย สูตรสุวรรณ
๑๙. นายศิริ เกวลินสฤษดิ์ ๒๐. นายสถิตย์ ไพเราะ
๒๑. นายสรรเสริญ ไกรจิตติ ๒๒. นางสาวสุคนธ์ กาญจนาลัย
๒๓. นายสุทัศน์ เงินหมื่น ๒๔. นายสุประดิษฐ์ หุตะสิงห์
๒๕. นายสุวรรณ ปัญญาภาส ๒๖. นายอรรถนิติ ดิษฐอำนาจ
๒๗. นายอารีย์ วงศ์อารยะ ๒๘. นายอุดล บุญประกอบ

  หนังสือยืนยันมติ ที่ สว ๐๐๐๘ / ๒๐๒ ลงวันที่ ๒๑ มกราคม ๒๕๔๓
  กำหนดการแปรญัตติ วัน
  สิ้นสุดวันที่ ๒๘ มกราคม ๒๕๔๓

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๑๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๓
  ผลการพิจารณา               ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๙/(ร๓๖) ลงวันที่ ๑๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๓

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๑๓ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๓
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๓ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๓
  มติ ( ) เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( / ) แก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ

  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๖๑๗ (ด่วนมาก) ลงวันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๓

กรณีวุฒิสภาลงมติแก้ไขเพิ่มเติม
สภาผู้แทนราษฎรเห็นว่าเป็นการแก้ไขเพิ่มเติมในสาระสำคัญหรือกรณีอื่น และไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม
  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๖๑๗ (ด่วนมาก) ลงวันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๓
  สภาผู้แทนราษฎรรับที่ ๗๔/๒๕๔๓ ลงวันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๒๖ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑ มีนาคม ๒๕๔๓  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๒๖ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑ มีนาคม ๒๕๔๓ ถึง วันพุธที่ ๘ มีนาคม ๒๕๔๓  
  มติ ( ) เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม ( / ) ไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม

  สภาผู้แทนราษฎรกำหนดกรรมาธิการร่วมกันฝ่ายละ ๑๐ คน
  พิจารณาร่างพระราชบัญญัติให้ใช้พระธรรมนูญศาลยุติธรรม พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการฝ่ายสภาผู้แทนราษฎรประกอบด้วย
 
๑. ร้อยตำรวจเอก เฉลิม อยู่บำรุง ๒. นายประจักษ์ พุทธิสมบัติ
๓. นายประยุทธ์ ศิริพานิชย์ ๔. นายปรีชา สุวรรณทัต
๕. นายพินิจ จันทรสุรินทร์ ๖. นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค
๗. นายเวียง วรเชษฐ์ ๘. นายสถิตย์ ไพเราะ
๙. นายอรรถนิติ ดิษฐอำนาจ ๑๐. นายอานุภาพ ใจแสน

  หนังสือสภาผู้แทนราษฎรแจ้งจำนวนกรรมาธิการร่วมกัน ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๑๙๐๘ ลงวันที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๔๓
  วุฒิสภารับที่ ๑๔๙/๒๕๔๓ ลงวันที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๔๓

  พิจารณาร่างพระราชบัญญัติให้ใช้พระธรรมนูญศาลยุติธรรม พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการฝ่ายวุฒิสภาประกอบด้วย
 
๑. นายเกษม สรศักดิ์เกษม ๒. นายจรัญ ภักดีธนากุล
๓. นายพินิต อารยะศิริ ๔. นายรัตน์ ศรีไกรวิน
๕. พลตำรวจเอก วสิษฐ เดชกุญชร ๖. นายวีระชัย สูตรสุวรรณ
๗. นายสรรเสริญ ไกรจิตติ ๘. นายสุประดิษฐ์ หุตะสิงห์
๙. นายสุวรรณ ปัญญาภาส ๑๐. นายอุดล บุญประกอบ

  หนังสือวุฒิสภาแจ้งการตั้งกรรมาธิการร่วมกัน ที่ สว ๐๐๐๘ / ๗๙๔ ลงวันที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๔๓

  คณะกรรมาธิการร่วมกันพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวัน ๑๓ มีนาคม ๒๕๔๓  
  ผลการพิจารณา ( / ) มีข้อสังเกต       ( ) ไม่มีข้อสังเกต  
หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการร่วมกันไปยังสภาผู้แทนราษฎร ๑๒๒๔/๒๕๔๓ ลงวันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๔๓

ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๓๐ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๔๓  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๓๐ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๔๓
  มติ ( / ) เห็นชอบ       ( ) ไม่เห็นชอบ  
  หนังสือสภาผู้แทนราษฎรแจ้งกลับไปยังวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๘ / ๒๑๐๙ ลงวันที่ ๑๖ มีนาคม ๒๕๔๓

ที่ประชุมวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๑๖ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๔๓  
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๖ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๔๓
  มติ ( / ) เห็นชอบ       ( ) ไม่เห็นชอบ  
  หนังสือแจ้งจากวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๘ / ๙๔๔ ลงวันที่ ๒๐ มีนาคม ๒๕๔๓

ร่างพระราชบัญญัติได้รับความเห็นชอบของรัฐสภา
  หนังสือยืนยันไปยังเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ สผ ๐๐๐๘ / ลงวันที่
  ประกาศราชกิจจานุเบกษา ประเภท ก ฉบับกฤษฎีกา
  เล่มที่ ๑๑๗ ตอน ๔๔ก หน้าที่ - วันที่ ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๔๓ พุทธศักราช ๒๕๔๓

สถานภาพของร่างฯ เห็นชอบประกาศใช้เป็นกฎหมาย