สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๑๕ ปี พ.ศ. ๒๕๒๙

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ (ฉบับที่..) พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล คือ เพิ่มอำนาจให้คณะกรรมการ ป.ป.ป. ทำการสอบสวนเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ทุจริตหรือประพฤติมิชอบในวงราชการกรณีที่เป็นความผิดคดีอาญา และสามารถส่งเรื่องให้พนักงาน อัยการดำเนินการฟ้องร้องต่อศาลได้โดยไม่ต้องแจ้งต่อพนักงานสอบสวน
ผู้เสนอ
๑. นายการุณ ใสงาม
พรรค ประชาธิปัตย์
ผู้รับรอง
๑. นายปรีดา กนกนาค ๒. นายสุรใจ ศิรินุพงศ์
๓. นายทวีวัฒน์ ฤทธิ์ฤาชัย ๔. นายจาตุรนต์ ฉายแสง
๕. นายองุ่น สุทธิวงศ์ ๖. นายอารีเพ็ญ อุตรสินธุ์
๗. นายสมนเล๊าะ โปขะรี ๘. นายวิทยา ภูมิเหล่าแจ้ง
๙. นายทองสวย สหัสทัศน์ ๑๐. นายสวัสดิ์ สืบสายพรหม
๑๑. นายคำรณ ณ ลำพูน ๑๒. นายสุวัฒน์ วีระเศรษฐกุล
๑๓. นายจตุรนต์ คชสีห์ ๑๔. นายสุรพร ดนัยตั้งตระกูล
๑๕. นายฉัตรชัย เอียสกุล ๑๖. นายวัชรินทร์ เกตะวันดี
๑๗. นายสนั่น พยัคฆกุล ๑๘. นายนฤชาติ บุญสุวรรณ
๑๙. นายสิทธิพร โพธิ์เพชร ๒๐. นายเอี่ยม ทองใจสด
๒๑. นายพิบูลย์ พงศ์ธเนศ ๒๒. นายธงชาติ รัตนวิชา
๒๓. พันโท สนั่น ขจรประศาสน์ ๒๔. นายไตรภพ เมาะราษี
๒๕. นายเอนก ทับสุวรรณ

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๒๙
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๑๐๕/๒๕๒๙ ลงวันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๒๙
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( ) เป็น        ( / ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาของร่างฯ รอการพิจารณาในวาระที่ ๑ (สภาผู้แทนราษฎร)