สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติยกเลิกพระราชบัญญัติป้องกันการกระทำอันเป็นคอมมิวนิสต์ พ.ศ. ๒๔๙๕ พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล ยกเลิกพระราชบัญญัติป้องกันการกระทำอันเป็นคอมมิวนิสต์ พ.ศ. ๒๔๙๕ โดยที่พระราช บัญญัติป้องกันการกระทำอันเป็นคอมมิวนิสต์ พ.ศ. ๒๔๙๕ ได้ตราขึ้นเพื่อคุ้มครองความ ปลอดภัยและความมั่นคงของประเทศชาติและประชาชน เนื่องจากสภาวการณ์บ้านเมือง ขณะนั้น มีความสับสนวุ่นวายจากการแพร่หลายของลัทธิคอมมิวนิสต์แต่ในปัจจุบันนี้ สถานการณ์ได้เปลี่ยนแปลงไป เห็นสมควรให้ยกเลิกพระราชบัญญัติดังกล่าว
ผู้เสนอ
๑. นายอดิศร เพียงเกษ
พรรค ความหวังใหม่
ผู้รับรอง
๑. นายสุรพร ดนัยตั้งตระกูล ๒. นายอารีเพ็ญ อุตรสินธุ์
๓. ร้อยตรี นุกูล ธนิกุล ๔. นายสมบัติ ศรีสุรินทร์
๕. นายกวี สุภธีระ ๖. นายภูมิ สาระผล
๗. นายสรอรรถ กลิ่นประทุม ๘. นายเจริญ จรรย์โกมล
๙. พลอากาศเอก จรูญ วุฒิกาญจน์ ๑๐. นายวีระกร คำประกอบ
๑๑. นายวิชัย เอี่ยมวงศ์ ๑๒. นายชิงชัย มงคลธรรม
๑๓. นายสุชาติ ศรีสังข์ ๑๔. นายดนัยฤทธิ์ วัชราภรณ์
๑๕. นายอำนวย คลังผา ๑๖. ร้อยตรี วัฒนา แก้วศิริ
๑๗. นายบวร ภูจริต ๑๘. นายเกษม รุ่งธนเกียรติ
๑๙. นายประกิจ พลเดช ๒๐. ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง
๒๑. นายเอกพร รักความสุข ๒๒. นายวราเทพ รัตนากร
๒๓. นายภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ ๒๔. นายสุพล ฟองงาม
๒๕. นางมยุรา อุรเคนทร์

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๔๑
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๑๐๓/๒๕๔๑ ลงวันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๔๑
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นางสินี ส้มมี  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( ) เป็น        ( / ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล เป็นการยกเลิกกฎหมายไม่กระทบต่องบประมาณของแผ่นดิน

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๒๑ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๙ กันยายน ๒๕๔๑
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๔ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพฤหัสบดีที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๔๒
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ
    คะแนนเสียง 167

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๗ คน

  พิจารณาร่างพระราชบัญญัติยกเลิกพระราชบัญญัติป้องกันการกระทำอันเป็นคอมมิวนิสต์ พ.ศ. ๒๔๙๕
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายไขแสง สุกใส ๒. นายแคล้ว นรปติ
๓. นายชาญชัย ชัยรุ่งเรือง ๔. นายชำนิ ศักดิเศรษฐ์
๕. นายณรงค์เลิศ สุรพล ๖. นายดำริ วัฒนสิงหะ
๗. นายถาวร เสนเนียม ๘. นายทวี สุระบาล
๙. นายทองใบ ทองเปาด์ ๑๐. นายเธียร มโนหรทัต
๑๑. นายนิพนธ์ บุญญามณี ๑๒. นายประชาธิปไตย คำสิงห์นอก
๑๓. นายประยุทธ์ ศิริพานิชย์ ๑๔. นายประวุฒิ ศรีมันตระ
๑๕. นายประสาท ตันประเสริฐ ๑๖. นายปรีชา สุวรรณทัต
๑๗. นายไพร พัฒโน ๑๘. นายวิทยา แก้วภราดัย
๑๙. พันเอก สมคิด ศรีสังคม ๒๐. นายสมัคร สุนทรเวช
๒๑. นายสมัย เจริญช่าง ๒๒. นายสุเมธ พรมพันห่าว
๒๓. นายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์ ๒๔. นายอดิศร เพียงเกษ
๒๕. นายอนุชา โมกขะเวส ๒๖. นายอัชพร จารุจินดา
๒๗. นายอำนวย ยศสุข
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๒๐๕ ลงวันที่ ๒ กรกฎาคม ๒๕๔๒
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่ ๘ กรกฎาคม ๒๕๔๒
  ใช้ร่างพระราชบัญญัติของ คณะรัฐมนตรี เป็นหลักในการพิจารณา

  ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกัน
  เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๐๓๔/๒๕๔๒ ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี (ร่างฯหลัก)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๑๐๓/๒๕๔๑ ผู้เสนอ นายอดิศร  เพียงเกษ (ร่างฯทำนองเดียวกัน)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๑๑๔/๒๕๔๑ ผู้เสนอ นายปรีชา  สุวรรณทัต (ร่างฯทำนองเดียวกัน)

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๔๒
  ผลการพิจารณา ( / ) มีข้อสังเกต        ( ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๑๐๒๐/๒๕๔๒      ลงวันที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๔๒

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๑๑ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๔ สิงหาคม ๒๕๔๒
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๑๔ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๑๘ สิงหาคม ๒๕๔๒
  มติ ( / ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ

กรณีมีข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการ
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๑๔ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๑๘ สิงหาคม ๒๕๔๒
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับข้อสังเกต     ( ) ไม่เห็นด้วยกับข้อสังเกต

หนังสือยืนยันไปยังวุฒิสภา ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๖๔๓๓ ลงวันที่ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๔๒

การพิจารณาของวุฒิสภา
  เลขทะเบียนรับ (กองกลาง สว.) ๐๐๑๑/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๔๒
  เลขทะเบียนรับ (กองการประชุม สว.) ๐๐๒๑/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๔๒
  เลขทะเบียนรับ (ฝ่ายญัตติ สว.) ๐๐๑๒/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๔๒
  พิจารณาให้เสร็จภายใน ๖๐ วัน         ครบกำหนดวันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๔๒
  นิติกรฝ่ายวุฒิสภา นายรพีพงศ์ ภูชฎาภิรมย์

การพิจารณาก่อนรับหลักการของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) ให้ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ     ( / ) ไม่ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ
การพิจารณาวาระที่ ๑ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๑๐ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๐ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒
  มติ ( / ) เห็นชอบด้วยกับหลักการ        ( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับหลักการ

ส่งคณะกรรมาธิการ
  ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน คน
  พิจารณาร่างพระราชบัญญัติสิทธิบัตร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการประกอบด้วย

  หนังสือยืนยันมติ ที่ สว ๐๐๐๘ / ลงวันที่
  กำหนดการแปรญัตติ วัน
  สิ้นสุดวันที่

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่
  ผลการพิจารณา               ( ) มีข้อสังเกต        ( ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังวุฒิสภา ที่ ลงวันที่

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( / ) แก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ

  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๓๔๒๒ (ด่วนมาก) ลงวันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๔๒

กรณีวุฒิสภาลงมติแก้ไขเพิ่มเติม
สภาผู้แทนราษฎรเห็นว่าเป็นการแก้ไขเพิ่มเติมในสาระสำคัญหรือกรณีอื่น และไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม
  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๓๔๒๒ (ด่วนมาก) ลงวันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๔๒
  สภาผู้แทนราษฎรรับที่ ๕๐๑ ลงวันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๔๒
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๑๔ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๒ มกราคม ๒๕๔๓  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๑๔ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๒ มกราคม ๒๕๔๓  
  มติ ( ) เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม ( / ) ไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม

  สภาผู้แทนราษฎรกำหนดกรรมาธิการร่วมกันฝ่ายละ ๑๐ คน
  พิจารณาร่างพระราชบัญญัติป้องกันการกระทำอันเป็นคอมมิวนิสต์ พ.ศ. ๒๔๙๕ พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการฝ่ายสภาผู้แทนราษฎรประกอบด้วย
 
๑. นายจำลอง ครุฑขุนทด ๒. นายทนุศักดิ์ เล็กอุทัย
๓. นายทิวา เงินยวง ๔. นาวาอากาศตรี ประสงค์ สุ่นศิริ
๕. นายปรีชา สุวรรณทัต ๖. นายวิทยา แก้วภราดัย
๗. พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์ ๘. นายสุชาติ ศรีสังข์
๙. นายอดิศร เพียงเกษ ๑๐. นายอำนวย ยศสุข

  หนังสือสภาผู้แทนราษฎรแจ้งจำนวนกรรมาธิการร่วมกัน ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๒๔๗ ลงวันที่ ๑๗ มกราคม ๒๕๔๓
  วุฒิสภารับที่ ลงวันที่

  หนังสือวุฒิสภาแจ้งการตั้งกรรมาธิการร่วมกัน ที่ สว ๐๐๐๘ / ลงวันที่

  คณะกรรมาธิการร่วมกันพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวัน ๑๐ มีนาคม ๒๕๔๓  
  ผลการพิจารณา ( / ) มีข้อสังเกต       ( ) ไม่มีข้อสังเกต  
หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการร่วมกันไปยังสภาผู้แทนราษฎร ๑๑๘๙/๒๕๔๓ ลงวันที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๔๓

ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๓๐ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๔๓  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๓๐ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๔๓
  มติ ( / ) เห็นชอบ       ( ) ไม่เห็นชอบ  
  หนังสือสภาผู้แทนราษฎรแจ้งกลับไปยังวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๘ / ๒๑๐๙ ลงวันที่ ๑๖ มีนาคม ๒๕๔๓

ที่ประชุมวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ  
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( / ) เห็นชอบ       ( ) ไม่เห็นชอบ  
  หนังสือแจ้งจากวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๘ / ๙๔๔ ลงวันที่ ๒๐ มีนาคม ๒๕๔๓

ร่างพระราชบัญญัติได้รับความเห็นชอบของรัฐสภา
  หนังสือยืนยันไปยังเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๒๓๔๓ ลงวันที่ ๒๗ มีนาคม ๒๕๔๓
  ประกาศราชกิจจานุเบกษา ประเภท ก ฉบับกฤษฎีกา
  เล่มที่ ๑๑๗ ตอน ๕๑ก หน้าที่ - วันที่ ๒ มิถุนายน ๒๕๔๓ พุทธศักราช ๒๕๔๓

สถานภาพของร่างฯ เห็นชอบประกาศใช้เป็นกฎหมาย