สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติกักพืช (ฉบับที่..) พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล แก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติกักพืช พ.ศ. ๒๕๐๗ เนื่องจากได้ใช้มาเป็นเวลานาน มีบทบัญญัติหลายมาตรา ที่เกี่ยวกับมาตรการในการป้องกันและควบคุมโรคพืช ยังไม่มี ประสิทธิภาพไม่สามารถครอบคลุมการป้องกันและควบคุมโรคพืชได้ โดยเฉพาะการนำเข้า และส่งออกพันธุ์พืช เชื้อพันธุ์พืช ฯลฯ จึงสมควรแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติบางมาตรา เพื่อ กำหนดให้มีคณะกรรมการกักพืชขึ้นทำหน้าที่ให้คำแนะนำแก่รัฐมนตรีในการปฏิบัติ ตามพระราชบัญญัติกักพืช และเพิ่มมาตรการเกี่ยวกับการควบคุม การตรวจสอบพันธุ์พืช เชื้อพันธุ์ สิ่งต้องห้ามและสิ่งกำจัด การกำหนดให้มีการจัดตั้ง ด่านตรวจพืช สถานกักพืช การกำหนดให้มีการจดทะเบียน สถานที่เพาะปลูกพืชเพื่อการส่งออก และการออกใบรับรองปลอดศัตรูพืช ตลอดจนแก้ไขเพิ่มเติมบทกำหนดโทษ และอำนาจเปรียบเทียบปรับให้เหมาะสมยิ่งขึ้น
ผู้เสนอ
๑. นายตรีพล เจาะจิตต์ ๒. นายธีระ สลักเพชร
๓. นางคมคาย พลบุตร ๔. นายฉลาด ขามช่วง
๕. นายสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล
พรรค ประชาธิปัตย์
ผู้รับรอง
๑. นายนิพนธ์ บุญญามณี ๒. นางวรศุลี เชาว์ศิริกุล
๓. นางวรศุลี เชาว์ศิริกุล ๔. นายสืบแสง พรหมบุญ
๕. นางนิภา พริ้งศุลกะ ๖. นายนิพนธ์ บุญญามณี
๗. นางลดาวัลลิ์ วงศ์ศรีวงศ์ ๘. นายประวิช นิลวัชรมณี
๙. นายนิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ ๑๐. นายวิสาร เตชะธีราวัฒน์
๑๑. นายวิทยา แก้วภราดัย ๑๒. นายบุญมาก ศิริเนาวกุล
๑๓. พันตำรวจโท สมชาย เพศประเสริฐ ๑๔. นายทรงพล โกวิทศิริกุล
๑๕. นายถาวร เสนเนียม ๑๖. นายสุพัฒน์ ธรรมเพชร
๑๗. นางศิริวรรณ ปราศจากศัตรู ๑๘. นายเจะอามิง โตะตาหยง
๑๙. นายไพร พัฒโน ๒๐. นายสมคิด นวลเปียน
๒๑. นายยงยุทธ ติยะไพรัช

เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ลงวันที่ ๑๙ สิงหาคม ๒๕๔๑
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๑๐๒/๒๕๔๑ ลงวันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๔๑
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นายศิโรจน์ แพทย์พันธุ์  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( / ) เป็น        ( ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล การกำหนดให้เงินที่ได้จากค่าตรวจสอบศัตรูพืชและค่าป่วยการ มิให้ถือเป็นรายรับตาม กฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ มีผลทำให้รัฐขาดรายรับและการกำหนดอัตรา ค่าธรรมเนียมขึ้นใหม่ มีผลทำให้รัฐมีรายรับเพิ่มขึ้น

กรณีร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินของสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๖๓๘๐ ลงวันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๔๑
    หนังสือแจ้งจากผู้เสนอ (กรณีคัดค้านร่าง) ที่ ลงวันที่
                 ( ) คัดค้าน    ( ) ไม่คัดค้าน     ( ) ไม่แจ้งคัดค้านภายใน 7 วัน
    หนังสือส่งให้นายกรัฐมนตรีรับรอง ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๖๓๘๘ ลงวันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๔๑
    หนังสือแจ้งเหตุขัดข้องจากเลขาธิการนายกฯ ที่ นร ลงวันที่
    หนังสือนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๐๑๑๓/๑๘๓๐๕ ลงวันที่ ๓ กันยายน ๒๕๔๑
                 ( / ) รับรอง    ( ) ไม่รับรอง
    หนังสือแจ้งผู้เสนอ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ลงวันที่

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๒๐ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพฤหัสบดีที่ ๓ กันยายน ๒๕๔๑
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๒๐ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพฤหัสบดีที่ ๓ กันยายน ๒๕๔๑
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ
    คะแนนเสียง รับหลักการ ๑๙๖

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๗ คน

  พิจารณาร่างพระราชบัญญัติกักพืช (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายจำลอง เจตนะจิตร ๒. นายเจริญ จรรย์โกมล
๓. นายชูศักดิ์ แอกทอง ๔. นายตรีพล เจาะจิตต์
๕. นายถวิล ฤกษ์หร่าย ๖. นายเนวิน ชิดชอบ
๗. นายบุญช่วย จันดาวาปี ๘. นายประทีป กรีฑาเวช
๙. นายประสาท เกศวพิทักษ์ ๑๐. นายประสิทธิ์ ตั้งศรีเกียรติกุล
๑๑. นายพงศกร อรรณนพพร ๑๒. นายพิชาญ พิบูลย์วัฒนวงษ์
๑๓. นายไพจิต ศรีวรขาน ๑๔. นายยุทธนา ศรีตะบุตร
๑๕. นางวรศุลี เชาว์ศิริกุล ๑๖. นายวิชา ธิติประเสริฐ
๑๗. นายวิทยา คุณปลื้ม ๑๘. นายวินัย เสนเนียม
๑๙. ว่าที่พันตรี สรชาติ สุวรรณพรหม ๒๐. นายสืบแสง พรหมบุญ
๒๑. นายสุรเชษฐ์ มาศดิตถ์ ๒๒. นายสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล
๒๓. นางสาวโสภิดา เห-มาคม ๒๔. นายหิรัญ พรหมา
๒๕. นางอัญชลี วานิช เทพบุตร ๒๖. นายอำนวย คลังผา
๒๗. นายโอชา ประจวบเหมาะ
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๒๘๑ ลงวันที่ ๔ กันยายน ๒๕๔๑
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๔๑
  ใช้ร่างพระราชบัญญัติของ คณะรัฐมนตรี เป็นหลักในการพิจารณา

  ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกัน
  เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๑๑๔/๒๕๔๐ ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี (ร่างฯหลัก)
เลขรับที่(ญัตติ สผ.) ๐๑๐๒/๒๕๔๑ ผู้เสนอ นายตรีพล  เจาะจิตต์ (ร่างฯทำนองเดียวกัน)

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๔๑
  ผลการพิจารณา ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๖๘๓๙/๒๕๔๑      ลงวันที่ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๔๑

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๙ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๖ มกราคม ๒๕๔๒
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๒๗ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๓ มีนาคม ๒๕๔๒
  มติ ( / ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ

กรณีส่งร่างพระราชบัญญัติให้กรรมาธิการพิจารณาใหม่
  หมายเหตุ ที่ประชุมพิจารณาส่งร่างพระราชบัญญัติให้กรรมาธิการพิจารณาใหม่อีกครั้ง เดิมคณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จ เมื่อวันที่ วันพุธที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๔๑ (ไม่มีข้อสังเกต) หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๕๐๓๓/๒๕๔๑ วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๔๑ บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๓๐ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๔๑ ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๓๐ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๔๑

หนังสือยืนยันไปยังวุฒิสภา ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๑๘๗๒ ลงวันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๔๒

การพิจารณาของวุฒิสภา
  เลขทะเบียนรับ (กองกลาง สว.) ๐๐๒๑/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๔๒
  เลขทะเบียนรับ (กองการประชุม สว.) ๐๐๔๘/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๔๒
  เลขทะเบียนรับ (ฝ่ายญัตติ สว.) ๐๐๒๔/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๔๒
  พิจารณาให้เสร็จภายใน ๓๐ วัน         ครบกำหนดวันที่ ๔ เมษายน ๒๕๔๒
  นิติกรฝ่ายวุฒิสภา นายสราวุธ สุธราพันธ์

การพิจารณาก่อนรับหลักการของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) ให้ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ     ( / ) ไม่ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ
การพิจารณาวาระที่ ๑ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๑๖ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๔๒
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๖ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๔๒
  มติ ( / ) เห็นชอบด้วยกับหลักการ        ( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับหลักการ

ส่งคณะกรรมาธิการ
  ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( / ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน คน
  คณะกรรมาธิการการเกษตรและสหกรณ์
คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายสมพล เกียรติไพบูลย์ ๒. นายสมาน โอภาสวงศ์
๓. นายนิวัฒน์ พ้นชั่ว ๔. นายอดิเรก ศรีประทักษ์
๕. นายวิบูลย์ เข็มเฉลิม ๖. นายทรง องค์ชัยวัฒนะ
๗. นายจริย์ ตุลยานนท์ ๘. นายเถลิง ธำรงนาวาสวัสดิ์
๙. นายทองดี นิคงรัมย์ ๑๐. นายบรม ตันเถียร
๑๑. นายประวิทย์ โรจนเพียรสถิต ๑๒. นายผจญ อุลปาทร
๑๓. นายยงยุทธ เลอลภ ๑๔. นายศิริชัย บูลกุล
๑๕. นายสุจินต์ จินายน ๑๖. นายสุลัยมาลย์ วงษ์พานิช

  หนังสือยืนยันมติ ที่ สว ๐๐๐๘ / ๗๗๘ ลงวันที่ ๒๒ มีนาคม ๒๕๔๒
  กำหนดการแปรญัตติ วัน
  สิ้นสุดวันที่ ๒๖ มีนาคม ๒๕๔๒

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๒๖ มีนาคม ๒๕๔๒
  ผลการพิจารณา               ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๙/(ร ๕๘) ลงวันที่ ๒๖ มีนาคม ๒๕๔๒

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๑๘ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๒ เมษายน ๒๕๔๒
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๘ (สมัยสามัญทั่วไป) วันศุกร์ที่ ๒ เมษายน ๒๕๔๒
  มติ ( ) เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( / ) แก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ

  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๙๒๓ (ด่วนมาก) ลงวันที่ ๒ เมษายน ๒๕๔๒

กรณีวุฒิสภาลงมติแก้ไขเพิ่มเติม
สภาผู้แทนราษฏรเห็นว่ามิได้เป็นการแแก้ไขเพิ่มเติมในสาระสำคัญ และเห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม
  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๙๒๓ (ด่วนมาก) ลงวันที่ ๒ เมษายน ๒๕๔๒
  สภาผู้แทนราษฎรรับที่ ๑๕๑ ลงวันที่ ๒ เมษายน ๒๕๔๒
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๓๗ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๗ เมษายน ๒๕๔๒  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๓๗ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๗ เมษายน ๒๕๔๒  
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม ( ) ไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม

สถานภาพของร่างฯ เห็นชอบประกาศใช้เป็นกฎหมาย