สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙

สารระบบร่างพระราชบัญญัติ


ร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
หลักการและเหตุผล ให้กระทรวงสาธารณสุขหรือผู้ชึ่งกระทรวงสาธารณสุขมอบหมายมีอำนาจทำลายยาเสพติด ให้โทษที่ศาลชั้นต้นมีคำพิพากษาหรือมีคำสั่งให้ริบหรือนำยาเสพติดให้โทษดังกล่าวไปใช้ ประโยชน์ได้ เพื่อเป็นการประยัดงบประมาณและเป็นการป้องกันมิให้ของกลางยาเสพติด ให้โทษถูกลักลอบออกมาจำหน่ายในท้องตลาดซ้ำอีก
ผู้เสนอ คณะรัฐมนตรี
เลขที่หนังสือที่คณะรัฐมนตรี ที่ นร ๐๒๐๔/๑๑๒๗๔ ลงวันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๔๒
เลขทะเบียนรับที่ (ฝ่ายญัตติ สผ.) ๐๐๙๘/๒๕๔๒ ลงวันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๔๒
นิติกรฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร นายนพคุณ นพรัตน์  
ประธานสภาผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ( ) เป็น        ( / ) ไม่เป็น ร่าง พ.ร.บ เกี่ยวกับการเงิน
เหตุผล รัฐไม่ต้องจัดสรรเงินงบประมาณมาเพื่อดำเนินการ

การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาวาระที่ ๑
    บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๓ ครั้งที่ ๒๐ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพุธที่ ๘ กันยายน ๒๕๔๒
    ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๑๖ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑๙ มกราคม ๒๕๔๓
    มติ ( / ) รับหลักการ        ( ) ไม่รับหลักการ

ส่งคณะกรรมการ ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๗ คน

  พิจารณาร่างพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
  คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายกิตติ ลิ้มชัยกิจ ๒. นายเกษม ชาญไววิทย์
๓. นายขจิตร ชัยนิคม ๔. นางสาวชรินรัตน์ พุทธปวน
๕. นายโชคสมาน สีลาวงษ์ ๖. นายณรงค์ ฉายากุล
๗. นายธัญ การวัฒนาศิริกุล ๘. นายเธียร มโนหรทัต
๙. นายนิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ ๑๐. นายปรีชา มุสิกุล
๑๑. นายเปรมศักดิ์ เพียยุระ ๑๒. นางสาวพวงเพชร สารคุณ
๑๓. นายพินิจ จันทรสุรินทร์ ๑๔. นายภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ
๑๕. นางลลิตา ฤกษ์สำราญ ๑๖. นายวรรณรัตน์ ชาญนุกูล
๑๗. นายวัลลภ สุปริยศิลป์ ๑๘. นายวิเชียร คันฉ่อง
๑๙. นางวิริยะวรรณ สาทิสสะรัต ๒๐. พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์
๒๑. พันตำรวจโท ไวพจน์ อาภรณ์รัตน์ ๒๒. นายสมัย เจริญช่าง
๒๓. นายสุชาติ แก้วนาโพธิ์ ๒๔. นายสุรเชษฐ์ แวอาแซ
๒๕. นายอำนวย คลังผา ๒๖. นายอำนวย ยศสุข
๒๗. นายอิทธิพล คุณปลื้ม
  หนังสือยืนยันมติ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ว ๒๕ ลงวันที่ ๒๐ มกราคม ๒๕๔๓
  กำหนดแปรญัตติ วัน สิ้นสุดวันที่ ๒๖ มกราคม ๒๕๔๓

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๓
  ผลการพิจารณา ( ) มีข้อสังเกต        ( / ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ ๙๕๙/๒๕๔๓      ลงวันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๓

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๒๖ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑ มีนาคม ๒๕๔๓
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๒๖ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๑ มีนาคม ๒๕๔๓
  มติ ( / ) เห็นชอบ        ( ) ไม่เห็นชอบ

หนังสือยืนยันไปยังวุฒิสภา ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๕๓๒๐ ลงวันที่ ๑๘ สิงหาคม ๒๕๔๓

การพิจารณาของวุฒิสภา
  เลขทะเบียนรับ (กองกลาง สว.) ๐๐๑๓/๒๕๔๓ ลงวันที่ ๒๖ มกราคม ๒๕๔๔
  เลขทะเบียนรับ (กองการประชุม สว.) ๐๐๑๙/๒๕๔๓ ลงวันที่ ๑๘ สิงหาคม ๒๕๔๓
  เลขทะเบียนรับ (ฝ่ายญัตติ สว.) s๐๐๖/๒๕๔๓ ลงวันที่ ๑๘ สิงหาคม ๒๕๔๓
  พิจารณาให้เสร็จภายใน ๖๐ วัน         ครบกำหนดวันที่ ๑๗ ตุลาคม ๒๕๔๓
  นิติกรฝ่ายวุฒิสภา นายสราวุธ สุธราพันธ์

การพิจารณาก่อนรับหลักการของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ
  ที่ประชุมพิจารณา
  มติ ( ) ให้ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ     ( / ) ไม่ตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการ
การพิจารณาวาระที่ ๑ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๑๑ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันจันทร์ที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๔๓
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๑ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันจันทร์ที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๔๓
  มติ ( / ) เห็นชอบด้วยกับหลักการ        ( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับหลักการ

ส่งคณะกรรมาธิการ
  ( ) คณะกรรมาธิการเต็มสภา
( ) คณะกรรมาธิการสามัญ
( / ) คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๒๑ คน
  วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
 
๑. นายกิตติ ลิ้มชัยกิจ ๒. พลโท โกวิท พัฑฒฆายน
๓. นายจำเจน จิตรธร ๔. นางจิตรา อยู่ประเสริฐ
๕. นายณรงค์ ฉายากุล ๖. นายเด่น โต๊ะมีนา
๗. นายถาวร เกียรติไชยากร ๘. นายนิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ
๙. นายนิรันดร์ พิทักษ์วัชระ ๑๐. นางประทีป อึ้งทรงธรรม
๑๑. นายประศักดิ์ ณ กาฬสินธุ์ ๑๒. นายประสิทธิ์ พิทูรกิจจา
๑๓. พลโท ปัญญา อยู่ประเสริฐ ๑๔. นางพวงเพชร สารคุณ
๑๕. นางมลิวัลย์ เงินหมื่น ๑๖. นางมาลินี สุขเวชชวรกิจ
๑๗. นางระเบียบรัตน์ พงษ์พานิช ๑๘. นายวิจิตร มโนสิทธิศักดิ์
๑๙. นายวีรพงศ์ สกลกิติวัฒน์ ๒๐. นายสวัสดิ์ ทรัพย์เจริญ
๒๑. นายสุนทร จินดาอินทร์

  หนังสือยืนยันมติ ที่ สว ๐๐๐๘ / ว ๒๔๕๖ ลงวันที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๔๓
  กำหนดการแปรญัตติ วัน
  สิ้นสุดวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๔๓

  คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๓ ตุลาคม ๒๕๔๓
  ผลการพิจารณา               ( / ) มีข้อสังเกต        ( ) ไม่มีข้อสังเกต
  หนังสือส่งรายงานกรรมาธิการไปยังวุฒิสภา ที่ สว ๐๐๐๙/(ร ๒๔) ลงวันที่ ๓ ตุลาคม ๒๕๔๓

การพิจารณาวาระที่ ๒-๓ ของวุฒิสภา
  บรรจุระเบียบวาระ ครั้งที่ ๑๙ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๔๓
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๙ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๔๓
  มติ ( ) เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( ) ไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผู้แทนราษฎร
( / ) แก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ

กรณีมีข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวุฒิสภา
  ที่ประชุมพิจารณา ครั้งที่ ๑๙ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันศุกร์ที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๔๓
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับข้อสังเกต       ( ) ไม่เห็นด้วยกับข้อสังเกต
  หนังสือส่งข้อสังเกตของกรรมาธิการไปยังเลขาธิการฯ ที่ สผ ๐๐๐๘ / ๒๙๐๗ ลงวันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๔๓

  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๒๘๙๖ (ด่วนที่สุด) ลงวันที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๔๓

กรณีวุฒิสภาลงมติแก้ไขเพิ่มเติม
สภาผู้แทนราษฏรเห็นว่ามิได้เป็นการแแก้ไขเพิ่มเติมในสาระสำคัญ และเห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม
  หนังสือส่งคืนไปยังสภาผู้แทนราษฎร ที่ สว ๐๐๐๘ / ๒๘๙๖ (ด่วนที่สุด) ลงวันที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๔๓
  สภาผู้แทนราษฎรรับที่ ๘๗๔๕/๒๕๔๓ ลงวันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๔๓
  บรรจุระเบียบวาระ ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๓๔ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพฤหัสบดีที่ ๑๙ ตุลาคม ๒๕๔๓  
  ที่ประชุมพิจารณา ชุดที่ ๒๐ ปีที่ ๔ ครั้งที่ ๓๔ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) วันพฤหัสบดีที่ ๑๙ ตุลาคม ๒๕๔๓  
  มติ ( / ) เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม ( ) ไม่เห็นด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติม

สถานภาพของร่างฯ เห็นชอบประกาศใช้เป็นกฎหมาย